iEnergyGuru //primoma.com World Energy Media & Educational Production House Mon, 20 Feb 2023 09:31:12 +0000 th hourly 1 //wordpress.org/?v=6.4.3 95224877 iEnergyGuru //primoma.com/2023/02/apply-gsee-2023/ //primoma.com/2023/02/apply-gsee-2023/#respond Mon, 20 Feb 2023 09:27:26 +0000 //primoma.com/?p=22517 The post รับสมัครสถานประกอบการเข้าร่วมโครงการเพื่อประยุกต์ใช้เกณฑ์ GSEE ปี 2566 appeared first on iEnergyGuru.

]]>
tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p

  ข่าวประชาสัมพันธ์ค่ะ

รับสมัครสถานประกอบการเข้าร่วมโครงการเพื่อประยุกต์ใช้เกณฑ์ GSEE ปี 2566

โครงการส่งเสริมการประยุกต์ใช้มาตรฐานความยั่งยืนด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อ?br /> (Global Sustainable Energy and Environment : GSEE)
ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

รับสมัครตั้งแต่วันนี้ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2566 (ไม่มีค่าใช้จ่า?

  ผลประโยชน์ที่คาดว่าสถานประกอบการจะได้รับจากการสมัครเข้าร่วมโครงการเพื่อประยุกต์ใช้เกณฑ์ “GSEE?มีดังนี้
  1. ได้รับโอกาสในการให้คำปรึกษาและช่วยในการพัฒนาด้านสมรรถนะพลังงาน การใช้พลังงานหมุนเวียนและการจัดการสิ่งแวดล้อมจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ
  2. สามารถทำให้เกิดการลดต้นทุนด้านพลังงานและผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมนำไปสู่แนวทางของความยั่งยื?/li>
  3. เกิดการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและมีการวัดผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงานของสถานประกอบกา?/li>
  4. ได้รับโล่และ Certificate จากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคในฐานะองค์กรที่มีความยั่งยืนด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมในระดับสากล
  5. ได้รับการประชาสัมพันธ์ด้านภาพลักษณ์ขององค์กร
 

สถานประกอบการที่ประสงค์จะเข้าร่วมโครงการเพื่อประยุกต์ใช้เกณฑ์ “PEA-GSEE?สามารถกรอกข้อมูลในเอกสารยืนยันการเข้าร่วมโครงการ?และส่งกลับมายังที่ปรึกษาโครงกา?/p>  

รายละเอียดเพิ่มเติม?a tabindex="0" role="link" href="//pea-gsee.com/2023/02/13/apply-2023/?fbclid=IwAR0J9wxowI_3kCkeJYP1x69Yud-LfASjcqh4vVNqNeqz6kg1w-8Fuu3dmoE" target="_blank" rel="nofollow noopener" data-cke-saved-href="//pea-gsee.com/2023/02/13/apply-2023/?fbclid=IwAR0J9wxowI_3kCkeJYP1x69Yud-LfASjcqh4vVNqNeqz6kg1w-8Fuu3dmoE">//pea-gsee.com/2023/02/13/apply-2023/

 

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติ?ที่ปรึกษาโครงการ?บริษัท เอนเนอร์ยี?ควอลิตี้ เซอร์วิ?จำกั?/strong>
คุณอังสุมณ ฝักเจริญผล หรือ คุณศรัญญ?เครือกน?br /> โทรศัพท์ 02-192-1847-8 ,089-690-6668, 090-669-3639
e-mail : gsee@eqs.co.th
Line OA : @eqs_experience
Website โครงการ? //pea-gsee.com/

2 Reviews

5
5

Write a Review

The post รับสมัครสถานประกอบการเข้าร่วมโครงการเพื่อประยุกต์ใช้เกณฑ์ GSEE ปี 2566 appeared first on iEnergyGuru.

]]>
//primoma.com/2023/02/apply-gsee-2023/feed/ 0 22517
iEnergyGuru //primoma.com/2023/01/designated-factories/ //primoma.com/2023/01/designated-factories/#respond Mon, 16 Jan 2023 03:05:27 +0000 //primoma.com/?p=22117 The post รู้ได้อย่างไว่าเป็?โรงงานควบคุมตามกฏหมา?? appeared first on iEnergyGuru.

]]>
tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p

ตา?a href="//primoma.com/2015/04/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%9A-%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B9%8C-%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99" target="_blank" rel="noopener">พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน แก้ไขเพิ่มเติ??? 2550 ได้กำหนดให?strong>โรงงานควบคุมต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ทั้งนี้จะรู้ได้อย่างไรว่?โรงงานของเราเป็นโรงงานควบคุมตามกฎหาย.........รายละเอียดดังกล่าวถูกกำหนดไว้ใ?พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุม ?? 2540 ซึ่งมีผลบังคับใช้ในวันที?17 กรกฎาค??? 2543

โรงงานควบคุม

คื?โรงงานภายใต้บ้านเลขที่เดียวกั?ติดตั้งเครื่องวัดไฟฟ้า (มิเตอร์) หรือหม้อแปลงไฟฟ้าชุดเดียว หรือหลายชุดรวมกัน?มีขนาดตั้งแต?1,000 กิโลวัตต?(kW) ขึ้นไป หรือ 1,175 กิโลวาร์ (kVA) ขึ้นไป หรือ มีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้า ความร้อนจากไอน้ำ หรือพลังงานสิ้นเปลืองอย่างใดอย่างหนึ่ง รวมกันในรอ?1 ปีที่ผ่านมาเทียบเท่าพลังงานไฟฟ้าตั้งแต่ 20 ล้านเมกะจูล ขึ้นไป

สำหรับโรงงานที่มีขนาดตามรายละเอียดด้านบนนี?จะต้องแจ้งขึ้นทะเบียนเป็?strong>โรงงานควบคุม ซึ่งปัจจุบันสามารถแจ้งผ่านระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐเพื่อการปฏิบัติตามกฎหมายสำหรับโรงงานควบคุมและอาคารควบคุ?(e-Service) : //eservice.dede.go.th/

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p

 

***สำหรับผู้ที่ไม่เคยใช้งานระบบ eservice แนะนำให้ดาวน์โหล?คำแนะนำการใช้ระบ?/strong> มาอ่านก่อนนะคะ

 

กรณีที่ต้องการแจ้งการขึ้นทะเบียนโรงงานควบคุมผ่านเอกสา?สามารถเข้าไปดาวน์โหลด แบบกรอกข้อมูลของโรงงานเพื่อการวินิจฉัยการเป็นโรงงานควบคุ?ได้ที่ //berc.dede.go.th/?page_id=2010

 

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p

 

เมื่อกรอกข้อมูลในแบบกรอกข้อมูลของโรงงานเพื่อการวินิจฉัยการเป็นโรงงานควบคุ?พร้อมเอกสารประกอบเรียบร้อยแล้ว ให้นำส่งข้อมูลไปที?/p>

กองกำกับและอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
17 ?พระราม 1 แขวงรองเมือง เขตปทุมวั?กรุงเทพ ?10330
หรือหากต้องการรายละเอยดเพิ่มเติ?โทรศัพท์ 0 2223 0021-9 ต่?1668, 1631, 1497, 1088 โทรสาร 0 2226 4697

 

เรียบเรียงข้อมูลโด?อังสุม?ฝักเจริญผล ทีมงาน iEnergyGuru

อ้างอิง?/strong>

  1. ระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐเพื่อการปฏิบัติตามกฎหมายสำหรับโรงงานควบคุมและอาคารควบคุ?(e-Service) //eservice.dede.go.th/
  2. พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุม ?? 2540
 

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p

3 Reviews

5
5
5

Write a Review

The post รู้ได้อย่างไรว่าเป?โรงงานควบคุมตามกฏหมา?? appeared first on iEnergyGuru.

]]> //primoma.com/2023/01/designated-factories/feed/ 0 22117 iEnergyGuru //primoma.com/2022/12/sir-timothy-john-berners-lee/ //primoma.com/2022/12/sir-timothy-john-berners-lee/#respond Thu, 15 Dec 2022 03:01:41 +0000 //primoma.com/?p=22068 The post Sir Timothy John Berners-Lee ชายผู้ย่อโลให้เล็กลงด้ว?WWW appeared first on iEnergyGuru.

]]>
tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p

ในโลกยุคปัจจุบัน ถ้าเราต้องการหาข้อมูลอะไรสักอย่า?เพียงแค่เราเปิดคอมพิวเตอร์ หรือสมาร์ทโฟ?แล้วใช้เสิร์ชเอนจิ?(Search Engine) หรือ โปรแกรมค้นหา ซึ่งก็คื?โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นหาข้อมู?สามารถทำให้การเข้าใช้งานอินเตอร์เน็ตเพื่อไปอ่านข้อมูลในเว็บไซต์ต่า??โดยการใช้โปรแกรมที่เรียกว่าเว็บเบาว์เซอร์ เช่?Internet Explorer, Google Chrome, Firefox, Safari, Microsoft Edge ที่เราใช้กันอยู่ในปัจจุบันกลายเป็นเรื่องปกติในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไห?เพล?ซอฟต์แวร?แผนที่ ข้อมูลบุคค?กลุ่มข่า?และอื่??ที่เราจะรู?อยากจะหา ก็จะปรากฏให้เราเห็นตรงหน้าเพียงแค่คลิกเดียว แตกต่างจากในอดีตอย่างสิ้นเชิ?ที่การค้นหาข้อมูลนั้นต้องเข้าห้องสมุ?เป็นต้น วันนี้ iEnergyGURU ขอนำทุกท่านไปรู้จักกับผู้ที่ทำให้ชีวิตมนุษย์ง่ายขึ้น ชายผู้ที่ย่อโลกใบนี้ให้เล็กลงด้วยตัวอักษรแค่ 3 ตั?นั่นคื?WWW WWW หรือ เวิลด์ไวด์เว็?(World Wide Web) “ตัวอักษ?3 ตัวที่เปลี่ยนโลก?ทำให้เรามีพื้นที่เก็บข้อมูลข่าวสารที่สามารถเชื่อมโยงเนื้อหาบนอินเตอร์เน็ตได้แบบเป็นเครือข่าย ผ่านการใช้ URL สั้น ?ที่กำหนดตำแหน่งที่อยู่ของเว็บแต่ละหน้า ที่กำหนดขึ้นมาโดยเจ้าของข้อมูลนั้น ?ใช้ร่วมกับ Hyperlink ทำให้สามารถเชื่อมโยงหน้าเว็บต่า??ต่อไปได้เรื่อ??ไม่รู้จบ

ในขณะที่ใครหลา??คนถูกยกย่องให้เป็?‘บิดา?ในการประดิษฐ์สิ่งต่า??แต่หลา??คนแทบไม่รู้จัก ทิ?เบอร์เนิร์?ลี แม้แต่น้อย ถึงแม้ว่าเขาจะเป็นคนที่ได้รับฉายาว่าเป็?“นักประดิษฐ์ที่เยี่ยมยอดที่สุดที่โลกเคยมีมา?และเราก็ใช้นวัตกรรมที่เขาสร้างขึ้นมาอยู่ทุก ?วั?/p>

เซอร์ทิโมที จอห์?เบอร์เนิร์?ลี (Sir Timothy John Berners-Lee, OM, KBE, FRS, FREng, FRSA, DFBCS) เป็นศาสตราจารย์ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ที่มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด (University of Oxford) และเป็นศาสตราจารย์ที่สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology : MIT) เขาเป็นนักวิทยาศาสตร์ด้านคอมพิวเตอร์ชาวอังกฤษผู้คิดค้นสิ่งประดิษฐ์ที่ปฏิวัติที่สุดในศตวรรษที?20 นั่นคื?ระบบข้อมูลข่าวสารบนอินเตอร์เน็ตที่เรียกว่?World Wide Web (WWW) อันทรงพลังที่ทำให้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลกและกลายเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งของมนุษย์ในยุคปัจจุบัน ระบบการจัดการข้อมูลดังกล่าวเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 12 มีนาคม ปี ?? 2532 จากนั้นได้ดำเนินการสื่อสารที่ประสบความสำเร็จเป็นครั้งแรกระหว่างไคลเอ็นต์และเซิร์ฟเวอร์ Hypertext Transfer Protocol (HTTP) ผ่านอินเทอร์เน็ตในกลางเดือนพฤศจิกาย?/p> และเขาได้ก่อตั้งกลุ่มบริษั?World Wide Web Consortium (W3C) เพื่อดูแลการพัฒนา WWW อย่างต่อเนื่องสร้างความเจริญก้าวหน้าในด้านการค้นหาและการเผยแพร่ความรู้และข้อมูลข่าวสารชนิดเปลี่ยนโล?เขาจึงได้รับการยกย่องเป็นหนึ่งในบุคคลที่สำคัญที่สุดแห่งศตวรรษที่ 20 ทิ?เบอร์เนิร์?ลี ได้รับการยกย่องและได้รับรางวัลมากมาย ซึ่งชื่อเต็??และเกียรติยศที่เขาได้รับนั้นทำให้ชื่ออย่างเป็นทางการของเขายาวไม่รู้จบพ??กับความยาวของชื่?URL ของบางเว็บไซต์ที่เราเห็นต่อจา?WWW ที่เข้าพัฒนาคิดค้นขึ้นมานั่นเอง

นอกจากนั้น ทิ?เบอร์เนิร์?ลี ยังดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการของ World Wide Web Consortium (W3C) ซึ่งดูแลการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของเว็?ซึ่งเขาร่วมก่อตั้งกับโรสแมร?ลี? (Rosemary Leith) ภรรยาของเขาในขณะนั้?มูลนิธิเวิลด์ไวด์เว็?เขาเป็นนักวิจัยอาวุโสและดำรงตำแหน่งประธานผู้ก่อตั้?3Com Corporation ที่หอทดลองวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์แห่งเอ็มไอท?(MIT Computer Science and Artificial Intelligence Laboratory : CSAIL) เขาเป็นผู้อำนวยการขอ?Web Science Research Initiative (WSRI) และเป็นสมาชิกของคณะกรรมการที่ปรึกษาของ MIT Center for Collective Intelligence ในปี ?? 2554 เขาได้รับการเสนอชื่อให้เป็นสมาชิกของคณะกรรมการมูลนิธิฟอร์ด (Ford Foundation) เขาเป็นผู้ก่อตั้งและเป็นประธานของ Open Data Institute (ODI) และปัจจุบันเป็นที่ปรึกษาขอ?MeWe อีกด้ว?/p> เขาคิดค้นและใช้งานเว็บเบราว์เซอร์และเว็บเซิร์ฟเวอร์เครื่องแร?และช่วยส่งเสริมการพัฒนาอย่างรวดเร็วในเวลาต่อมาของเว็?ปัจจุบันเขากำกั?W3 Consortium พัฒนาเครื่องมือและมาตรฐานเพื่อเพิ่มศักยภาพของเว็?ในเดือนเมษาย?ปี ?? 2552 เขาได้รับเลือกให้เป็?Foreign Associate of the National Academy of Sciences

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?pNeXT workstation ที่ทิม เบอร์เนิร์?ลี ใช้เป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์เครื่องแรกบนเวิลด์ไวด์เว็?/ ภาพจาก en.wikipedia.org

ในปี ?? 2547 สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที?2 แต่งตั้งให้ทิม เบอร์เนิร์?ลีเป็นอัศวินจากผลงานการบุกเบิกของเขา และเขาได้รับการเสนอชื่อในรายชื่อ 100 บุคคลที่สำคัญที่สุดของศตวรรษที?20 ของนิตยสารไทม์ และได้รับรางวัลอื่นๆ อีกมากมายจากผลงานประดิษฐ์ของเขา เขาได้รับเกียรติให้เป็?“ผู้ประดิษฐ์เวิลด์ไวด์เว็บ?ในพิธีเปิดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 เขาได้รับรางวัลทัวริงประจำป??? 2559 “สำหรับการคิดค้นเวิลด์ไวด์เว็?เว็บเบราว์เซอร์ตัวแรก ตลอดจนโปรโตคอลและอัลกอริทึมพื้นฐานที่ช่วยให้เว็บปรับขนาดได้?/p> ทิ?เบอร์เนิร์?ลี เกิดเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน ปี ?? 2498 ?กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เป็นบุตรคนโตในจำนวนบุตรทั้งสี่คนของนายคอนเวย?เบอร์เนิร์?ลี (Conway Berners-Lee) และนางแมรี ลี วูดส?(Mary Lee Woods) ไมค์น้องชายของเขาเป็นศาสตราจารย์ด้านนิเวศวิทยาและการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากา?(Ecology and Climate Change Management) ทั้งพ่อและแม่เป็นนักวิทยาศาสตร์ด้านคอมพิวเตอร์ทำงานอยู่ในทีมสร้างคอมพิวเตอร์ยุคแรก คื?แมนเชสเตอร์ มาร์?1 (Manchester Mark 1) ด้วยกั?ทั้งสองสอนให้เบอร์เนิร์?ลีใช้คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวันไปทุ??เรื่อ?ไม่เว้นแม้แต่บนโต๊ะอาหาร ทิ?เบอร์เนิร์?ลีเข้าเรียนชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนประถมชีนเมาท์ (Sheen Mount Primary School) (ซึ่งต่อมาได้อุทิศห้องโถงใหม่ห้องหนึ่งเป็นเกียรติแก่เขา) เขาเรียนรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์จากการซ่อมรถไ?เขาได้รับปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาฟิสิกส์ จากวิทยาลัยควีนส?ออกซ์ฟอร์ด (The Queen's College, Oxford) ในขณะที่เรียนมหาวิทยาลั?ทิ?เบอร์เนิร์?ลีสร้างคอมพิวเตอร์ด้วยหัวแร้งไฟฟ้า ประกอบทีทีแอ?(ทรานซิสเตอร์ชนิดหนึ่? ลอจิกเกท และหน่วยประมวลผล เอ็?6800 กับโทรทัศน์เก่าเครื่องหนึ่งซึ่งเขาซื้อมาจากร้านรับซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า และช่วงหนึ่งในระหว่างการศึกษ?ทิ?เบอร์เนิร์?ลีถูกจับได้ร่วมกับเพื่อนฐานทำกา?“แฮ็กคอมพิวเตอร์?และถูกห้ามมิให้ใช้คอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย

หลังจากสำเร็จการศึกษ?ทิ?เบอร์เนิร์?ลีทำงานเป็นวิศวกรที่บริษัทเพลสเสย?(The Plessey Company PLC) เป็นบริษัทโทรคมนาคมในเมืองพู?(Poole), ดอร์เซต (Dorset) ในปี ?? 2521 เขาร่วมงานกับ ดีจี นา?(D.G. Nash) ใน เฟรินดาว์?Ferndown), ดอร์เซต (Dorset) ซึ่งเขาได้ช่วยสร้างซอฟต์แวร์เรียงพิมพ์สำหรับเครื่องพิมพ?/p>

ขณะที่เป็นลูกจ้างอิสระอยู่ที่เซิร์?(CERN) ระหว่างเดือนมิถุนายน - ธันวาค??? 2523 ทิ?เบอร์เนิร์?ลีได้เสนอโครงการหนึ่งที่ใช้แนวคิ?“ข้อความหลายมิติ?หรือ hypertext มาใช้สำหรับการแลกเปลี่ยนและปรับสมัยข้อมูลระหว่างนักวิจัยด้วยกั?ขณะที่ทิ?เบอร์เนิร์?ลีทำงานอยู่ที่นี่เขาได้สร้างระบบต้นแบบไว้แล้วเรียกชื่อว่?ENQUIRE หลังจากออกจากเซิร์นในปลายป??? 2523 ทิ?เบอร์เนิร์?ลีไปร่วมงานกับบริษัทอิมเมจคอมพิวเตอร์ซิสเต็?(Image Computer Systems Ltd) ของจอห์น พุ?(John Poole) ในเมือง Bournemouth (เบอร์นเมาธ์), ดอร์เซต (Dorset) ทิ?เบอร์เนิร์?ลีได้กลับมาทำงานที่เซิร์นอีกครั้งหนึ่งเมื่อปี ?? 2527 ในตำแหน่งสิกขบัณฑิ?(Fellow) เมื่อถึ?ปี ?? 2532 เซิร์นได้กลายเป็นศูนย์อินเทอร์เน็ตที่ใหญ่ที่สุดในยุโร?และทิม เบอร์เนิร์?ลีได้เล็งเห็นโอกาสในการใช้ “ข้อความหลายมิติ?ผนวกเข้ากับอินเทอร์เน็?ทิ?เบอร์เนิร์?ลีเขียนไว้ในข้อเสนอโครงการของเขาว่??..ผมเพียงเอาความคิดเรื่องข้อความหลายมิตินี้เขื่อมต่อเข้ากับความคิ?“TCP?แล?“DNS?และเท่านั้นก็จะได้ "เวิลด์ไวด์เว็?.?ทิ?เบอร์เนิร์?ลีร่างข้อเสนอของเขาเมื่อเดือนมีนาคม ปี ?? 2532 และในป??? 2533 ด้วยความช่วยเหลือของโรเบิร์?ไคลิยู (Robert Cailliau) ช่วยปรับร่างโครงการให้ไมค์ เซนดอลล?ผู้จัดการของทิ?เบอร์เนิร์?ลี จึงรับข้อเสนอของเขา ในข้อเสนอนี้ ทิ?เบอร์เนิร์?ลี ได้ใช้ความคิดเดียวกับระบบเอ็นไควร์มาใช้สร้างเวิลด์ไวด์เว็?ซึ่งเขาได้ออกแบบและสร้างเว็บเบราว์เซอร์และเอดิเตอร์ตัวแรกของโลกชื่อว่?WorldWideWeb บนระบบปฏิบัติการ NEXTSTEP ของสตี?จอบส?(Steve Jobs) และสร้างเว็บเซิร์ฟเวอร์ขึ้น เรียกว่?HTTPd (ย่อมาจาก HyperText Transfer Protocal deamon)
เว็บไซต์แรกสุดสร้างขึ้นที่เซิร์?นำขึ้นออนไลน์เมื่อวันที่ 6 สิงหาค?ปี ?? 2534 ให้คำอธิบายว่าเวิลด์ไวด์เว็บคืออะไร การที่จะเป็นเจ้าของเบราว์เซอร์ทำได้อย่างไรและจะติดตั้งเว็บเซิร์ฟเวอร์ได้อย่างไร นอกจากนี้ังนับเป็นเว็บไดเร็กทอรีอันแรกของโลกด้วยเนื่องจากทิ?เบอร์เนิร์?ลีดูแลรายชื่อของเว็บไซต์อื่นๆ ทั้งหม?นอกจากของตนเองด้วย

ในปี ?? 2537 ทิ?เบอร์เนิร์?ลี ได้ก่อตั้งกลุ่มบริษัทเวิลด์ไวด์เว็?(W3C) ขึ้นที่สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ หรือเอ็มไอท?ประกอบด้วยบริษัทหลายบริษัทที่ยินยอมพร้อมใจมาร่วมสร้างมาตรฐานและข้อเสนอแนะสำหรับใช้เป็นหลักในการปรับปรุงคุณภาพของเว็?ในเดือนธันวาค?ปี ?? 2547 ทิ?เบอร์เนิร์?ลี ยอมรับตำแหน่งประธานสาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ที่คณะอีเล็กทรอนิกส์และวิยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยเซาท์แธมตัน (University of Southampton) สหราชอาณาจักรเพื่อดำเนินโครงการใหม่ นั่นคื?"ซีแมนติกเว็? (Semantic Web)
tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?pทิ?เบอร์เนิร์?ลี ที่พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ เมื่อเดือนมีนาคม ปี ?? 2562 / ภาพจาก en.wikipedia.org

ทิ?เบอร์เนิร์?ลีเปิดเผยให้ความคิดแก่ทุกคนและทุกองค์กรโดยไม่คิดมูลค่?เขาไม่เคยจดทะเบียนลิขสิทธิ์การค้นคิดของเขาเลย รวมทั้งไม่เรียกค่าตอบแทนหรือรางวัลอื่นใดจากใค?นอกจากเงินเดือนปกติ ดังนั้?กลุ่มบริษัทเวิลด์ไวด์เว็บจึงตัดสินใจไม่คิดมูลค่าใด ?จากการนำมาตรฐานของกลุ่มบริษัทไปใช้ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ประกอบการทุกรายยอมรับมาตรฐานเดียวกันได้บนพื้นฐานทางเทคโนโลยี ไม่ใช่พื้นฐานค่าสิขสิทธิ์ถูกหรือแพ?/p>

มหาวิทยาลัยเซาท์แธมตันเป็นองค์กรแรกที่ยอมรับว่า ทิ?เบอร์เนิร์?ลี เป็นคิดค้นและสร้างเวิลด์ไวด์เว็?ด้วยการมอบปริญญากิตติมศักดิ์ให้แก่เขาเมื่อ ปี ?? 2539 และให้เขาดำรงตำแหน่งประธานสาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ในคณะอิเล็กทรอนิกส์และวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ทิ?เบอร์เนิร์?ลีเป็นประธานผู้ก่อตั้?3Com ที่เอ็มไอทีและยังเป็นเมธีวิจัยอาวุโสที่นี่ด้วย ทิ?เบอร์เนิร์?ลีเป็นสิกขบัณฑิตกิตติคุ?(Distinguished Fellow) ที่สมาคมคอมพิวเตอร์แห่งบริเทน สิกขบัณฑิตกิตติคุณของสถาบันวิศวกรไฟฟ้า และยังเป็นสมาชิกของบัณฑิตยสถานศิลปะและวิทยาศาสตร์อเมริกันอีกด้ว?/p>

ในปี ?? 2540 ทิ?เบอร์เนิร์?ลีได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นจักรวรรดิบริทิ?(OBE) พร้อมการได้รับเข้าเป็นราชบัณฑิตในราชบัณฑิตยสถานเมื่อ ปี ?? 2544 ได้รับรางวัลญี่ปุ่?ในปี ?? 2545 และในปีเดียวกันก็ได้รับรางวัลปรินซิเ?เดอ แอสทูริอัส สาขางานวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศสเปน และได้การโหวตเป็นหนึ่งในชาวบริติชที่ดีที่สุดเท่าที่เคยมีมาในประวัติศาสตร?100 คน โดยบีบีซ?/p> ในปี ?? 2544 ทิ?เบอร์เนิร์?ลีได้เป็นผู้อุปถัมภ์กองทุนมรดกอีสต์ดอร์เซทในประเทศอังกฤษ เมื่อเดือนกรกฎาค?ปี ?? 2547 ทิ?เบอร์เนิร์?ลีได้รับการแต่งตั้งเป็นอัศวินโดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที?2 แห่งประเทศอังกฤษ 21 กรกฎาค?ปี ?? 2547 ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขาวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยแลงคาสเตอร์ 27 มกราคม ปี ?? 2548 ได้รับการยกย่องเป็นชาวบริทิชที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งป?และนิตยสารไทม์ในวาระเดียวกันยกย่องทิม เบอร์เนิร์?ลีเป็นบุคคล 1 ใน 100 คนที่ทรงอิทธิพลที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เดือนพฤษภาค?ปี ?? 2549 ทิ?เบอร์เนิร์?ลีได้เป็นสิกขบัณฑิตเกียรติคุณในราชสมาคมศิลปะ 14 มกราคม ปี ?? 2550 ได้การรวมชื่อไปไว้ในสำนักวิศวกรรมแห่งชาต?(สหรัฐฯ)

13 มิถุนายน ปี ?? 2550 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ Order of Merit (OM) ฝ่ายหน้าเป็นการส่วนพระองค์จากสมเด็จพระบรมราชินีเอลิซาเบท เป็นการพระราชทานโดยไม่ต้องผ่านจากกระทรวงทบวงกรม ซึ่งมีผู้ได้รับที่ยังมีชีวิตเพียง 24 คนเท่านั้นในสหราชอาณาจักร และมีสิทธิ์ใ?"OM" ท้ายชื่อได้ตลอดเวล?/p> นอกจากนี้เขายังได้รับรางวัลเกียรติยศอีกมากมา?เช่?ได้รับเลือกเป็นสมาชิกของราชสมาคม (Royal Society) ของอังกฤษและสถาบัน National Academy of Sciences (NAS) ของสหรัฐอเมริก? ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยหลายแห่งทั่วโลกรวมทั้งมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และมหาวิทยาลัยเยล

ปี ?? 2552 ทิ?เบอร์เนิร์?ลีได้ก่อต้องมูลนิธ?World Wide Web Foundation เพื่อสนับสนุนให้คนทั่วโลกสามารถเข้าถึงเว็บได้อย่างอิสระและเปิดกว้างในขณะเดียวกันก็ทำให้มั่นใจว่าเว็บเป็นเครื่องมือที่ปลอดภัยและทรงพลังที่ประชาชนสามารถใช้งานได้อย่างมีอิสระและช่วยให้ชีวิตดีขึ้นได้อย่างเต็มที่ ปี ?? 2555 เขาร่วมกั?Nigel Shadbolt ก่อตั้งสถาบั?Open Data Institute (ODI) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเชื่อมโยงและสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้คนทั่วโลกคิดค้นนวัตกรรมด้วยข้อมูล ปี ?? 2556 ทิ?เบอร์เนิร์?ลีร่วมกับองค์กรภาครัฐและเอกชนซึ่งรวมถึง Google, Facebook, Intel แล?Microsoft ก่อตั้งกลุ่มพันธมิตร Alliance for Affordable Internet (A4AI) เพื่อหาทางทำให้การถึงอินเตอร์เน็ตถูกลงเพื่อประชาชนในประเทศกำลังพัฒนาเข้าถึงอินเตอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้?นอกจากนี้เขายังได้ร่วมมือกับรัฐบาลและสถาบันหลายแห่งในการช่วยทำให้ข้อมูลเปิดกว้างและเข้าถึงได้ง่ายผ่านทางเว็บไซต์อีกหลายโครงกา?/p> ทิ?เบอร์เนิร์?ลีเป็นผู้อยู่แนวหน้าในการเป็นปากเป็นเสียงให้กับหลักกา?"Net Neutrality" หรือความเป็นกลางของเครือข่าย ที่มีแนวคิดว่าเครือข่ายบรอดแบนด์ครัวเรือน และอาจจะเครือข่ายทุกชนิ?จะต้องปลอดจากข้อห้ามต่าง ?เกี่ยวกับอุปกรณ์ที่จะนำมาเชื่อมต่อกับเครือข่าย วิธีในการสื่อสารที่อนุญา?ซึ่งจะต้องไม่กำจัดเนื้อหา เว็บไซต?หรือแพลตฟอร์?และจะต้องเป็นเครือข่ายที่การสื่อสารไม่ถูกลดคุณภาพลงเนื่องจากการรับส่งข้อมูลสื่อสารอื่น แน่นอนว่าสิ่งที่เขาได้สร้างขึ้นมานั้นได้เปลี่ยนโล?และถือว่าเป็นการปฏิวัติวงการข้อมูลข่าวสารบนโลกใบนี?ทำให้เราสามารถติดต่อสื่อสา? ทำงา?และทำกิจกรรมต่าง?ร่วมกันได้มากมาย ซึ่งถือเป็นการคิดค้นอันทรงคุณค่าแก่มวลมนุษยชาติอย่างหาที่สุดไม่ได้

นอกจากนั้น WWW ยังช่วยให้คนมีอิสระในการคิดแสดงออกความคิดเห็? และเมื่อคนสามารถเข้าถึงข้อมูลของทั้งโลกได้อย่างไม่จำกัด ก็ทำให้คนมองโลกจากหลายแง่มุม และสามารถเลือกเสพข้อมูลที่ตนเองสนใจได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุดตามความต้องการของทิ?เบอร์เนิร์?ลี ผู้ที่เป็นบุคคลสำคัญของโลกอย่างแท้จริ?/p>

เรียบเรียงโด?ประพัฒน์ศร ทีมงาน iEnergyGugu

อ้างอิ?/strong>

//en.wikipedia.org/wiki/Tim_Berners-Lee //www.britannica.com/biography/Tim-Berners-Lee

//www.famousscientists.org/timothy-john-berners-lee/

www.internethalloffame.org/inductees/tim-berners-lee  

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p

4 Reviews

5
5
5
5

Write a Review

The post Sir Timothy John Berners-Lee ชายผู้ย่อโลกให้เล็กลงด้ว?WWW appeared first on iEnergyGuru.

]]>
//primoma.com/2022/12/sir-timothy-john-berners-lee/feed/ 0 22068
iEnergyGuru //primoma.com/2022/11/samuel-martin-kier/ //primoma.com/2022/11/samuel-martin-kier/#respond Wed, 30 Nov 2022 09:03:45 +0000 //primoma.com/?p=22019 The post Samuel Martin Kier ผู้ขุดค้นพบน้ำมันป็นคนแรกของโลก appeared first on iEnergyGuru.

]]>
tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p

ยานพาหนะที่ใช้เครื่องยนต์แทบจะทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็?รถ เรื?หรือเครื่องบิ?ล้วนต้องใช้น้ำมันทั้งสิ้?ทำให้น้ำมันกลายเป็นที่ต้องการของไปทั่วโล?แม้ในยามสงครามมีบางประเทศถึงกับต้องกักตุนน้ำมันไว?แสดงให้เห็นว่าน้ำมันมีค่าและมีความสำคัญไม่แพ้เงินและทองค?แต่ด้วยความต้องการที่มากมายมหาศา?สักวันหนึ่งน้ำมันที่เคยเป็นแหล่งพลังงานหลักคงต้องหมดไป ปัจจุบันมีความพยายามในการหาพลังงานอื่นมาทดแทนและด้วยเทคโนโลยีที่พัฒนาไปอย่างรวดเร็วจึงมีการนำไฟฟ้าเข้ามาเป็นพลังงานที่ทดแทนการใช้น้ำมันมา?วันนี้ iEnergyGuru ขอนำเสนอเรื่องราวของผู้ที่ค้นพบน้ำมัน พลังงานสำคัญของโลกมาให้ทุกท่านได้ทราบกัน

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p

คำว่?"ปิโตรเลียม" มีรากศัพท์มาจากภาษาละตินว่?"เพทรา" (Petra) แปลว่า หิ?และคำว่า "โอลิอุ? (Oleum) แปลว่า น้ำมัน รวมความแล้?จึงหมายถึงน้ำมันที่ได้มาจากหิน ดังนั้นปิโตรเลียม คื?สารที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เป็นของผสมของโฮโดรคาร์บอนชนิดต่าง ?ที่ยุ่งยาก และซับซ้อน ทั้งที่อยู่ในสภาพของแข็ง ของเหล?และแก๊?หรือทั้งสามสภาพปะปนกัน แต่เมื่อต้องการจะแยกประเภทออกเป็นปิโตรเลียมชนิดต่าง?จะใช้คำว่า น้ำมันดิ?(Crude oil) แก๊สธรรมชาติ (Natural gas) และแก๊สธรรมชาติเหล?(Condensate) โดยปกติน้ำมันดิบ และแก๊สธรรมชาต?มักจะเกิดร่วมกัน ในแหล่งปิโตรเลียม แต่บางแหล่งอาจมีเฉพาะน้ำมันดิ?บางแหล่งอาจมีเฉพาะแก๊สธรรมชาติก็ได?ส่วนแก๊สธรรมชาติเหลวนั้?หมายถึ?แก๊สธรรมชาติในแหล่งที่อยู่ลึกลงไปใต้ดินภายใต้สภาพอุณหภูม?และความกดดันที่สูง เมื่อถูกนำขึ้นมาถึงระดับผิวดินในขั้นตอนของการผลิต อุณหภูมิ และความกดดันจะลดลง ทำให้แก๊สธรรมชาติกลายสภาพไปเป็นของเหล?เรียกว่?แก๊สธรรมชาติเหล?/p>

ในอดีตกา?ชาวจีนได้ค้นพบปิโตรเลียมจากการเจาะบ่อเกลือ และรู้จักใช้ประโยชน์จากปิโตรเลียม เพื่อเป็นเชื้อเพลิง ในการต้มน้ำเกลือให้ระเหย จนได้เกลือสินเธาว์ ชาวอียิปต์โบรา?ใช้ปิโตรเลียมดองศ?ก่อนนำไปฝังในสุสาน เพื่อช่วยป้องกันมิให้ศพเน่าเปื่อ?ในอาณาจักรเมโสโปเตเมี?มีการนำเอาน้ำมันดิบมาเป็นวัสดุเชื่อมประสานก้อนอิฐเข้าด้วยกันในการก่อสร้า?และใช้ปูลาดถนน ในสมัยกรีกและโรมัน ได้มีการใช้ปิโตรเลียมเป็นเชื้อเพลิง สำหรับตะเกียง และเป็นยาขี้ผึ้งสำหรับรักษาโรค ในพื้นที่ส่วนอื่??ของโลก อาทิเช่?บริเวณรอ??ทะเลสาบแคสเปียน โรมาเนี?พม่า และอินเดี?ได้มีการนำปิโตรเลียมมาใช้ประโยชน?คื?เป็นเชื้อเพลิง สำหรับจุดให้แสงสว่าง และใช้ในการประกอบอาหาร ใช้เป็นวัสดุหล่อลื่น และใช้เป็นยารักษาโร?/p> เรื่องราวของปิโตรเลียม และการพัฒนาเรื่องเทคโนโลยีด้านการขุดเจาะสำรวจให้มีความก้าวหน้าทันสมัย จนสามารถทำให้นำน้ำมันออกมาใช้ประโยชน์ได้เป็นผลสำเร็จนั้?คงต้องยกผลงานให้กับชายที่ชื่?ซามูเอล มาร์ติ?เกียร?(Samuel Martin Kier) ซึ่งถือเป็นบุคคลที่รู้จักกันในแวดวงปิโตรเลียมว่าเป็นผู้ขุดค้นพบน้ำมันเป็นคนแรกของโลก และยังได้รับการยกย่องจากนักประวัติศาสตร์ให้เป็นบิดาแห่งอุตสาหกรรมน้ำมันของอเมริกาอีกด้วย

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?pซามูเอล มาร์ติ?เกียร?(Samuel Martin Kier) / ภาพจาก en.wikipedia.org/wiki/Samuel_Kier
เกียร?เป็นนักประดิษฐ์และนักธุรกิจชาวอเมริกันที่มีเชื้อสายสก็อต-ไอริ?เกิดเมื่อวันที่ 18 กรกฎาค?ปี ?? 2356 ที่เมืองเล็กๆ ในอินเดียน่า (Indiana) มลรัฐเพ็นซิลวาเนี?(Pennsylvania) เขาเป็นลูกชายของโธมั?เกียร?(Thomas Kier) แล?แมรี?มาร์ติ?เกียร?(Mary Martin Kier) พวกเขาเป็นผู้อพยพชาวสก็อต-ไอริ?ซึ่งเป็นเจ้าของบ่อเกลือหลายแห่งรอบๆ ลิเวอร์มอร์ (Livermore) และซอลต์สเบิร์?(Salzberg) ที่อยู่ใกล้เคียง นอกจากธุรกิจเกลือแล้ว ในปี ?? 2381 เกียร์มีส่วนในการก่อตั้?Kier, Royer and Co. บริษัทนี้เป็นกิจการเรือคลองที่ขนส่งถ่านหินระหว่างพิตส์เบิร์?(Pittsburgh) และฟิลาเดลเฟี?(Philadelphia) เกียร์ยังเป็นเจ้าของผลประโยชน์ในเหมืองถ่านหินหลายแห่ง โรงอิฐ และโรงงานเครื่องปั้นดินเผา

เขาร่วมกับนักลงทุนรายอื่นอีกหลายค?รวมทั้งเบนจามิ?เอฟ โจนส?(Benjamin F. Jones) ก่อตั้งโรงหล่อเหล็กหลายแห่งทางตะวันตกตอนกลางของรัฐเพนซิลเวเนี?รวมทั้งบริษัทโจนส์แอนด์ลาฟลินสตี?(Jones and Laughlin Steel Company) ซึ่งเป็นผู้นำในการผลิตเหล็กรายใหญ่ที่สุดในอเมริก?/p>

ในช่วงปี ?? 2383 บ่อเกลือของเกียร?เปรอะเปื้อนไปด้วยน้ำมันปิโตรเลียม เนื่องจากก่อนหน้าเกียร์ทิ้งน้ำมันที่ไม่ใช้แล้วลงในคลองเส้นหลักของเพนซิลเวเนี?แต่หลังจากเกิดคราบน้ำมันติดไฟขึ้น เขาจึงมองเห็นลู่ทางที่จะทำกำไรจากผลพลอยได้นี?ในขณะนั้นไม่เคยมีการศึกษา ทดลองด้านวิทยาศาสตร์หรือเคมีอย่างเป็นทางการเกี่ยวกับเรื่องน้ำนี?เขาจึงเริ่มทำการทดลองกับโรงกลั่นน้ำมันดิบหลายแห่งร่วมกับนักเคมีจากเพนซิลเวเนียตะวันออ?เขาพัฒนาสารที่เขาค้นพบและตั้งชื่อว่?“Rock Oil?ซึ่งต่อมาคือ “Seneca Oil?ในปี ?? 2391 เขาเริ่มบรรจุสารดังกล่าวลงขวดและขายในราคาขวดละ 0.50 ดอลลาร?นอกจากนี้เขายังผลิตพาราฟิน (Petroleum Jelly) และขายเป็นยาทาเฉพาะที่ด้ว?แต่ทั้งสองผลิตภัณฑ์ไม่ได้ประสบความสำเร็จในเชิงพาณิชย์เท่าที่คว?/p>

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?pขวดและป้ายโฆษณาผลิตภัณฑ์ของเกียร?/ ภาพจาก www.nowthenpgh.com/?p=481

หลังจากทำการทดลองเพิ่มเติ?เขาก็ค้นพบวิธีที่ประหยัดในการผลิตน้ำมันก๊าด (Kerosene) ซึ่งในขณะนั้?น้ำมันก๊าดเป็นที่รู้จักกันมาระยะหนึ่งแล้ว แต่การผลิตและการใช้งานยังไม่แพร่หลาย แต่น้ำมันปลาวา?(Whale Oil) ต่างหากที่เป็นเชื้อเพลิงหลักสำหรับตะเกียงในอเมริกาซึ่งเวลานั้นเริ่มหายากและมีราคาแพงขึ้นเรื่อ??/p>

ในปี ?? 2394 เกียร์เริ่มขายน้ำมันก๊าดชื่?“น้ำมันคาร์บอน?(Carbon Oil) ให้กับคนงานเหมืองท้องถิ่?เขายังประดิษฐ์ตะเกียงชนิดใหม่เพื่อใช้กับผลิตภัณฑ์ของเขาด้วย เกียร์ไม่เคยจดสิทธิบัตรผลงานการประดิษฐ?และการพัฒนาต่า??ของเขา แต่นักประดิษฐ์และนักธุรกิจคนอื่น ?ได้กำไรมหาศาลจากการต่อยอดผลงานของเกียร?ยังไงก็ตาม รายได้ของเกียร์ในตอนนั้นก็เกิ?40,000 ดอลลาร์สหรัฐ?ต่อป?ซึ่งเทียบกับช่วงเวลานั้นถือว่าเป็นจำนวนเงินมหาศา?/p>

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?pเอ็ดวิน เดร?(Edwin Drake) / ภาพจาก idol-man.blog/2022/04/02/edwin-drake-the-first-to-successfully-drill-for-oil
ต่อมาจึงมีการจัดตั้งบริษัทเจาะสำรวจน้ำมันที่ชื่อบริษั?เพ็นซิลวาเนี?ร็อค  ออยล?(Pennsylvania Rock Oil Company) ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนเป็นชื่?บริษัท ซีนีกา ออยส?(Seneca Oil Company) ขึ้นมา โดยม?เอ็ดวิน เดร?(Edwin Drake) เป็นผู้เจาะสำรวจหาน้ำมันคนแรกที่เมืองทิทัสวิลล์ (Titusville) ในมลรัฐเพ็นซิลวาเนี?(Pennsylvania) ซึ่งเขาได้กลายเป็นผู้ที่ขุดพบน้ำมันเป็นคนแรกและมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักไปทั่วทั้งวงกา?เพราะเขาสามารถค้นพบน้ำมันที่ระดับความลึก 69.5 ฟุ?โดยที่มีอัตราการไหลของน้ำมันออกมาอยู่ที่ 10-35 บาเรล ต่อวัน ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นของ “ยุคตื่นน้ำมัน?ของโลก น้ำมันซีนีกาของเกียร์ถูกนำมาใช้เป็นน้ำมันหล่อลื่นของเครื่องยนต์ ใส่ตะเกียงเพื่อให้แสงสว่า?เมื่อความต้องการน้ำมันเริ่มมีมากขึ้?ทำให้เป็นการเริ่มต้นให้มีการแสวงหาแหล่งปิโตเลียมเพื่อการพานิชย์กันอย่างแพร่หลาย ในยุคแรกนี?อเมริกาได้เป็นเจ้าตลาดในการครอบครองน้ำมันที่ขุดเจาะได้ในดินแดนของตนเอง

ต่อมามีการไปสำรว?ขุดเจา?ค้นหาแหล่งน้ำมันดิบในดินแดนอาหรั?โดยนายทุนใหญ??ก็มาจา?อังกฤษ และอเมริกาเป็นส่วนใหญ?แต่ก็มีปัญหามากมายในการตกลงแบ่งเขตแดนกันในทะเลทรา?เพราะภูมิประเทศส่วนใหญ่นั้นเป็นทะเลทรา?จนสุดท้ายได้มีการขุดสำรวจและพบแหล่งน้ำมันขนาดใหญ่ใ?ซาอุดิอาระเบี?และยังมีแหล่งน้ำมันอีกมากมายที่สำรวจเจอในดินแดนฝั่งอาหรับ ทำให้ประเทศแถบนั้นกลายเป็นมหาอำนาจทางน้ำมันในทันท?/p>

สำหรับประเทศไท?มีหลักฐานปรากฏนับเป็นเวลามากกว่าร้อยปีมาแล้วว่ามีการค้นพบน้ำมันดิบที่อำเภอฝา?จังหวัดเชียงใหม่ โดยเจ้าหลวงเชียงใหม่ในสมัยนั้นได้รับรายงานว่ามีการไหลซึมของน้ำมันดิบ และชาวบ้านในละแวกนั้นนำน้ำมันดิบที่ไหลซึมออก มาใช้เป็นยาทารักษาโรคผิวหนัง ซึ่งต่อมาเจ้าเมืองเชียงใหม่ จึงได้สั่งให้มีการขุดบ่อเพื่อกักเก็บน้ำมันดิบที่ไหลซึมออกมา และมีการเรียกขานบ่อดังกล่าวในเวลาต่อมาว่?“บ่อหลวง?/p>

ต่อมาในป??? 2464 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน พระโอรสองค์ที่ 35 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงจบการศึกษาด้านวิศวกรรมจากตรินิตี้คอลเลจ แห่งมหาวิทยาลัยแคมบริดจ์ พ่วงด้วยวิศวกรรมชั้นสูงจากประเทศฝรั่งเศส รวมทั้งวิชาทหารช่างที่ชัทแทมด้วย เมื่อครั้งทรงดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการรถไฟ ต้องการหาเชื้อเพลิงทดแทนสำหรับหัวรถจักรไอน้?จึงได้ว่าจ้างนักธรณีวิทยาชาวอเมริกันชื่อวอลเลซ ลี (Wallace Lee) เข้ามาเจาะสำรวจหาน้ำมันดิบในบริเวณบ่อหลว?และจังหวัดกาฬสินธุ์ในปัจจุบั?ซึ่งแม้ว่าการขุดเจาะในครั้งนี้จะไม่ประสบผลสำเร็จเนื่องจากอุปกรณ์ส่วนใหญ่ผลิตขึ้นจากไม้จึงมีข้อจำกัดในการขุดเจา?แต่ก็ถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นในการสำรวจปิโตรเลียมในประเทศไท?ด้วยเหตุนี้ จึงถือได้ว่าพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกการสำรวจปิโตรเลียมในประเทศไทยก็ว่าได?/p>

ปิโตรเลียมซึ่งรวมถึงน้ำมัน เป็นทรัพยากรธรรมชาติอันมีค่าที่มีวันหมด เราจึงควรปลุกจิตสำนึกในการใช้พลังอย่างประหยัด เพื่อให้ทรัพยากรเหล่านี?ยังคงก่อประโยชน์สู่มนุษยชาติต่อไ?/p>  

เรียบเรียงโด?ประพัฒน์ศร ทีมงาน iEnergyGuru

อ้างอิ?/strong>

//en.wikipedia.org/wiki/Samuel_Kier www.uh.edu/engines/epi3178.htm

//historicpittsburgh.org/islandora/object/pitt:MSP33.B006.F02.I01

www.longmaadoo.com/การค้นพบน้ำมัน

//archives.datapages.com/data/phi/v9_2008/brice3.htm    

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p

1 Review

5

Write a Review

The post Samuel Martin Kier ผู้ขุดค้นพบน้ำมันเป็นคนแรกของโลก appeared first on iEnergyGuru.

]]>
//primoma.com/2022/11/samuel-martin-kier/feed/ 0 22019
iEnergyGuru //primoma.com/2022/11/21-nov-1783-hot_air_balloon/ //primoma.com/2022/11/21-nov-1783-hot_air_balloon/#respond Mon, 21 Nov 2022 04:04:27 +0000 //primoma.com/?p=21970 The post 21 พฤศจิกาย?ปี ?? 2326 บอลลูน อากาศยานชิ้นแรกที่นำมนุษ์ขึ้นสู่ท้องฟ้า appeared first on iEnergyGuru.

]]>
การเดินทางของมนุษย์มีหลายรูปแบ?เริ่มจากการเดินเท้?และเพื่อความต้องการความสะดวกสบายที่มากขึ้น วิวัฒนาการของการประดิษฐ์ คิดค้น ยานพาหนะต่าง ?ไม่ว่าจะเป็นทางบก ทางน้ำ หรือทางอากาศก็เกิดขึ้นมาตามลำดั?/p>

ในส่วนของประวัติศาสตร์การเดินอากาศ มีประวัติความเป็นมาที่เป็นรูปธรรมมากกว่าสองร้อยปี ตั้งแต่มีการคิดค้นว่าว ความพยายามร่อนโดยกระโดดจากหอสู?ไปจนถึงการสร้างอากาศยานที่มีความเร็วเหนือเสียงได?/p>

อย่างไรก็ตามความคิดเรื่องพลศาสตร์การบินนั้นต้องย้อนถึงคริสต์ศตวรรษที?9 อับบาส อิบน?ฟิรนาส (Abbas ibn Firnas) วางรากฐานการบินซึ่งได้รับอิทธิพลแนวคิดจากกฎแรงลอยตัวของอาร์คิมิดีส (Archimedes) ไปจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 15 เลโอนาร์โ?ดา วินช?(Leonardo da Vinci) ได้เคยฝันถึงสิ่งประดิษฐ์ที่สามารถบินได?เขาได้พยายามออกแบบสิ่งประดิษฐ์ดังกล่าวหลายชิ้?แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็?/p> ในปี ?? 2213 ฟรันเซสโก ลานา เ?เตรซี (Francesco Lana de Terzi) ได้ตีพิมพ์ชิ้นงานเสนอความคิดเรื่องความเป็นไปได้ของอากาศยานที่เบากว่าอากา?(Lighter Than Air) การใช้วัตถุกลวงที่มีผิวเป็นฟอยล์ทองแดงบางๆ ในขณะที่ด้านในเป็นสุญญากาศอาจจะทำให้วัตถุนั้นเบากว่าอากาศจนสามารถยกเรือเหาะได้ อย่างไรก็ตามทฤษฎีดังกล่าวก็ตกไปเนื่องจากความจริงที่ว่าความดันอากาศที่แตกต่างอย่างมหาศาลนั้นจะทำให้เรือเหาะยุบตั?ทฤษฎีดังกล่าวในปัจจุบันถูกรู้จักในชื่อ "เรือเหาะสุญญากา? (Vacuum Airship)

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?pการทดลองครั้งแรกของพี่น้องมงกอลฟีเยเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกาย?ปี ?? 2326 / ภาพจาก en.wikipedia.org
จากเอกสารที่มีรายละเอียดสมบูรณ?ได้ระบุว่า บอลลูนที่มีมนุษย์โดยสารเที่ยวแรก เป็นบอลลูนอากาศร้อนซึ่งประดิษฐ์ขึ้นโดยพี่น้องมงกอลฟีเ?(The Montgolfier brothers) โฌแซ็ฟ-มีแช?มงกอลฟีเ?(Joseph-Michel Montgolfier) แล?ฌั?เอเตียน มงกอลฟีเ?(Jacques-Étienne Montgolfier) ชาวฝรั่งเศส หลังจากที่ได้ทดลองหลายครั้งทั้งแบบไร้ผู้โดยสารและใช้สัตว์โดยสารในที่สุ?บอลลูนแบบโยงเชือกที่มีมนุษย์โดยสารก็ถูกสาธิตขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 19 กันยาย?ปี ?? 2326 ?พระราชวังแวร์ซาย ต่อหน้าพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 และบอลลูนลอยเสรีที่มีมนุษย์โดยสารได้ขึ้นบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายนในปีเดียวกั?การสาธิตบอลลูนลอยเสรีครั้งนี้สำเร็จได้ด้วยดี   tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p   บอลลูนอากาศร้อนเป็นอากาศยานเพื่อใช้ในการเคลื่อนที่ในอากาศได้เป็นชนิดแรกของบอลลู?จะมีถุงหรือซองเก็บอากาศที่ร้อนและมีความหนาแน่นต่ำกว่าอากาศที่อยู่นอกถุง จึงทำให้มันลอยขึ้นจากพื้นได้ ตัวถุงมักทำด้วยผ้าใบไนลอนและจะเป็นถุงเปิดทางด้านล่าง เพื่อเปิดต่อกับทางเข้าของความร้อนและตัวถุงจะมีความดันใกล้เคียงบรรยากาศภายนอกข้างใต้ถุง มักจะมีตะกร้าหรือแคปซูลเพื่อเป็นแหล่งกำเนิดความร้อ?โดยใช้แก๊สหรือเชื่อเพลิงร้อน โดยมีพื้นที่ในการใช้พื้นที่สำหรับผู้ควบคุมหรือผู้โดยสา?โดยใช้หลักการเคลื่อนที่ไปตามทิศทางของลมแต่ถ้าเรือเหาะชนิดอื่นๆ จะมีเครื่องยนต์ในการบังคับการเคลื่อนที่และความเร็วในการเคลื่อนที่ได้

ไม่กี่วันให้หลัง ในวันที่ 1 ธันวาค?ปี ?? 2326 ศาสตราจารย์ฌัก ชาร์?(Jacques Charles) และพี่น้องรอแบร์?ได้สาธิตบอลลูนแบบใหม่ขับเคลื่อนโดยไฮโดรเจนขนาด 380 คิวบิกเมตรและลอยสูงรา?550 เมตร?โดยล่ามเชือกไว้และลากไปยังจุดหมายเริ่มจากพระราชวังตุยเลอรีในปารีสไปยังมณฑลวา?ดว?ใช้เวลาล่องรวม 2 ชั่วโม?5 นาทีกับระยะทาง 33 กิโลเมต?ซึ่งในครั้งนี้มีขุนนางชั้นสูงโดยสารอยู่ในบอลลูนด้วยสี่คนและพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ร่วมทอดพระเนต?หลังจากนี้บอลลูนก็ได้รับการพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ อย่างรวดเร็?ในปี ?? 2337 ช่วงสงครามปฏิวัติฝรั่งเศส กองทัพฝรั่งเศสได้ใช้บอลลูนไฮโดรเจนแบบผูกเชือกเพื่อสังเกตการณ์ความเคลื่อนไหวของกองทัพออสเตรียในเดือนมกราคมปี ?? 2338 ฌ็อง-ปิแยร์ บล็องชาร?(Jean-Pierre Blanchard) นักคิดค้นบอลลูนชาวฝรั่งเศส สามารถล่องบอลลูนไฮโดรเจนข้ามช่องแคบอังกฤษได้ บอลลูนของเขาลอยได้สูงถึง 1,800 เมต?/p> ในต้นศตวรรษที่ 19 บอลลูนถือเป็นกีฬานิยมอย่างหนึ่งในอังกฤ?โดยบอลลูนเหล่านี้ใช้ก๊าซจากการเผาถ่านเป็นแรงขั?ซึ่งก๊าซเหล่านี้มีกำลังเพียงครึ่งเดียวของไฮโดรเจนเท่านั้?ดังนั้นบอลลูนเหล่านี้จึงมีขนาดค่อนข้างใหญ่  

เรียบเรียง ประพัฒน์ศร ทีมงาน iEnergyGuru

อ้างอิ?/strong>

//en.wikipedia.org/wiki/Montgolfier_brothers

//en.wikipedia.org/wiki/Hot_air_balloon //www.britannica.com/biography/Montgolfier-brothers    

1 Review

5

Write a Review

The post 21 พฤศจิาย?ปี ?? 2326 บอลลูน อากาศยานชิ้นแรที่นำมนุษย์ขึ้นสู่ท้องฟ้า appeared first on iEnergyGuru.

]]>
//primoma.com/2022/11/21-nov-1783-hot_air_balloon/feed/ 0 21970
iEnergyGuru //primoma.com/2022/11/saving-energy-estimation-for-hot-pipe-insulation/ //primoma.com/2022/11/saving-energy-estimation-for-hot-pipe-insulation/#respond Thu, 17 Nov 2022 09:20:05 +0000 //primoma.com/?p=21940 The post การประเมินผลประหยัจากการหุ้มฉนวนกันความร้อนท่อที่มีผิวร้อน appeared first on iEnergyGuru.

]]>
ท่อเป็นอุปกรณ์สำคัญในการขนถ่ายวัตถุจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง และมีใช้อยู่จำนวนมากในบางประเภทธุรกิจ เช่?อุตสาหกรรมที่มีการใช้ความร้อ?จะใช้ขนถ่ายไอน้ำ, น้ำมันร้อน แล?a href="//primoma.com/2015/10/boilers-%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B9%84%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3/">น้ำร้อ?/a> เป็นต้น เนื่องจากการขนถ่ายวัตถุที่เป็นของร้อนจึงทำให้ผิวด้านนอกของท่อร้อนไปด้วย อาจก่อให้เกิดอันตรายหากได้สัมผัส ซึ่งโดยหลักแล้วจะท?strong>การหุ้มฉนว?/strong>กันความร้อนท่อที่มีผิวร้อน เพื่อป้องกันอันตรายที่เกิดจากการสัมผัสกับผิวที่มีความร้อนและควบคุมคุณภาพในการผลิต แต่ก็มีประโยชน์ในการลดการใช้พลังงานที่ใช้ในการทำความร้อนด้วย เนื่องจากลดสูญเสียพลังงานความร้อนให้กับบรรยากาศโดยรอบ การหุ้มฉนวนกันความร้อนที่ผิวด้านนอกของท่อเป็นวิธีที่จะช่วยแก้ปัญหาที่กล่าวมาแล้วข้างต้?แต่การคำนวณผลประหยัดจากการหุ้มฉนวนท่อที่มีความร้อนนั้น มีความยุ่งยากพอสมควร เนื่องด้วยสมการที่ใช้คำนวณมีความซับซ้อน ซึ่งในบทความนี้จะนำเสนอวิธีการประเมินการสูญเสียความร้อนก่อนและหลังหุ้มฉนวนกันความร้อนในฉนวนบางประเภทอย่างง่า?รวมถึงวิเคราะห์เรื่องของการลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานและการลดการปล่อยมลพิษเทียบเป็นปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าให้กับองค์ก?/p>

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p

 

การคำนวณการสูญเสียความร้อนที่ผิวท่อร้อนก่อนและหลั?strong>การหุ้มฉนว?/strong>กันความร้อ?จะใช้หลักการถ่ายเทความร้อ?ด้วยการนำความร้อ?(Conduction), การพาความร้อ?(Convection) และการแผ่รังสีความร้อน (Radiation) จากผิวท่อสู่บรรยากาศโดยรอบ ซึ่งทางผู้เขียนจึงสรุปเป็นตารางและกราฟเพื่อนำไปใช้ประเมินความร้อนสูญเสียดังนี?/p>

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p

 

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p

 

ตัวอย่าง 1

ในกระบวนการผลิตอาหารแห่งหนึ่?มีท่อส่งจ่ายไอน้ำขนา?1 นิ้ว ระยะที่ไม่ได้หุ้มฉนวนยาว 10 เมต?วัดอุณหภูมิผิวได?120 องศาเซลเซียส อุณหภูมิบรรยากาศโดยรอบ 35 องศาเซลเซียส จะสามารถหาความร้อนสูญเสียได้ดังนี้
จากตารางจะได้?ความร้อนสูญเสี?/td> = 121.38 Wthermal/m
ดังนั้?ความร้อนสูญเสียรวม = 121.38 x 10
= 1,213.80 Wthermal
 

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p

ตัวอย่าง 2

ในกระบวนการผลิตอาหารแห่งหนึ่?มีท่อส่งจ่ายไอน้ำขนา?1 นิ้ว ระยะที่ไม่ได้หุ้มฉนวนยาว 10 เมต?วัดอุณหภูมิผิวได?120 องศาเซลเซียส อุณหภูมิบรรยากาศโดยรอบ 35 องศาเซลเซียส เมื่อดำเนินการหุ้มฉนวนกันความร้อนหนา 1 นิ้ว แล?2 นิ้ว จะสามารถประเมินหาความร้อนสูญเสียที่ลดลงได้ดังนี?(กำหน?หม้อไอน้ำประสิทธิภาพ 80% ใช้งาน 8,000 ชม./ปี ใช้น้ำมันเตา C เป็นเชื้อเพลิงที่มีค่าความร้อน 41.28 MJ/L)  

ก่อนปรับปรุง    

ความร้อนสูญเสียรวม = 1,213.80 Wthermal
 

หลังปรับปรุง   

ดำเนินการหุ้มฉนวนกันความร้อนแบบใยแก้วที่มีค่าสัมประสิทธิ์การนำความร้อนเฉลี่?0.035 W/m.K และหุ้มด้านนอกด้วยอลูมิเนียมขัดมัน
ความร้อนสูญเสียหลังหุ้มฉนวนกันความร้อน หน?1 นิ้ว จากตารางจะได?/td>
ความร้อนสูญเสี?(ฉนวน 1 นิ้ว) = 17.15 Wthermal/m
ความร้อนสูญเสียรวม (ฉนวน 1 นิ้ว) = 171.50 Wthermal
อุณหภูมิผิวหลังหุ้มฉนวนประเมิ?(ฉนวน 1 นิ้ว) 48.63  oC
ความร้อนสูญเสียลดล?/td> = 1,213.80 ?171.50  
= 1,042.30 Wthermal
ปริมาณน้ำมันเตา C ที่ลดได้ = (1,042.30 x 3.6 / 1,000)/(0.80 x 41.28)
= 0.11 L/hr
สามารถลดการใช้เชื้อเพลิงได?/td> = 0.11 x 8,000
= 880 L/y
สามารถลดค่าใช้จ่ายได?(ราคาน้ำมันเตา C 18.00 บา?ลิตร)
= 880.00 x 18.00
= 15,840 บา?ปี
ลงทุนหุ้มฉนวนกันความร้อน = 20,000 บา?/td>
ระยะเวลาคืนทุ?/td> = 1.26 ปี
สามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกคิดเป็นปริมา?CO2 เทียบเท่?เท่ากับ
= 880.00 x 3.2457
= 2,856.22 kgCO2eq/ปี
และหากความร้อนสูญเสียหลังหุ้มฉนวนกันความร้อน หน?2 นิ้ว จากตารางจะได?/td>
ความร้อนสูญเสี?(ฉนวน 2 นิ้ว) = 12.31 Wthermal/m
ความร้อนสูญเสียรวม (ฉนวน 2 นิ้ว) = 123.10 Wthermal
อุณหภูมิผิวหลังหุ้มฉนวนประเมิ?(ฉนวน 2 นิ้ว)     42.48   oC
ความร้อนสูญเสียลดล?/td> = 1,213.80 ?123.10
= 1,090.70 Wthermal
ปริมาณน้ำมันเตา C ที่ลดได้ = (1,090.70 x 3.6 / 1,000)/(0.80 x 41.28)
= 0.12 L/hr
สามารถลดการใช้เชื้อเพลิงได?/td> = 0.12 x 8,000.00
= 960.00 L/y
สามารถลดค่าใช้จ่ายได?(ราคาน้ำมันเตา C 18.00 บา?ลิตร)
= 960.00 x 18.00
= 17,280 บา?ปี
ลงทุนหุ้มฉนวนกันความร้อน = 25,000 บา?/td>
ระยะเวลาคืนทุ?/td> = 1.45 ปี
สามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกคิดเป็นปริมา?CO2 เทียบเท่?เท่ากับ
= 960.00 x 3.2457
= 3,115.87 kgCO2eq/ปี

สรุป

การหุ้มฉนวนกันความร้อนท่อที่มีผิวร้อ?จะสามารถลดอันตรายที่จะเกิดขึ้?ควบคุมความร้อนในการผลิตได้ดีขึ้น และลดการสูญเสียความร้อนและค่าใช้จ่ายลงได?ซึ่งชิดและความหนาของฉนวนกันความร้อนมีผลต่อการป้องกันความร้อ?สำหรับความเหมาะสมในการเลือกใช้ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลาย?อย่า?เช่?ข้อบังคับในการใช้วัสดุในพื้นที่ทำงาน (เช่?พื้นที่ทำงานในส่วนของอาหารจะไม่สามารถใช้วัสดุได้ในบางประเภท เป็นต้น), พื้นที่ติดตั้ง, งบประมาณและระยะเวลาคืนทุนที่เหมาะสม เป็นต้น

 

แปลและเรียบเรียงโด?นายปรีชา โขธนพงศ์ ทีมงาน iEnergyGuru

Reference:

  • Fundamentals of Heat and Mass Transfer FRANK P. INCROPERA / DAVID P. DEWITT / THEODORE L. BERGMAN / ADRIENNE S. LAVINE.
  • ค่?Emission Factor จา?//thaicarbonlabel.tgo.or.th/
 

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p

 

4 Reviews

5
5
5
5

Write a Review

The post การประเมินผลประหยัดจากการหุ้มฉนวนกันความ้อนท่อที่มีผิวร้อน appeared first on iEnergyGuru.

]]>
//primoma.com/2022/11/saving-energy-estimation-for-hot-pipe-insulation/feed/ 0 21940
iEnergyGuru //primoma.com/2022/10/21-oct-national-dental-day/ //primoma.com/2022/10/21-oct-national-dental-day/#respond Fri, 21 Oct 2022 02:44:31 +0000 //primoma.com/?p=21922 The post 21 ตุลาคม วันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ appeared first on iEnergyGuru.

]]>
tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?pสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนน?/ ภาพจาก www.brh.go.th ทุกวันที?21 ตุลาคม ของทุกปี นอกจากเป็นวันพระราชสมภพของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนน?หรือสมเด็จย่า พระผู้อยู่ในความทรงจำของประชาชนชาวไทยแล้?ยังเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งในวงการทันตแพทย์ไท?นั่นคื?วันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ

จุดเริ่มต้นของวันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ เกิดขึ้นในป??? 2512 เมื่อสมเด็จย่าทรงก่อตั้งหน่วยแพทย์อาสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีหรื?พอ.สว เป็นหน่วยแพทย์ที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงก่อตั้งเมื่อปี ?? 2512 ปฏิบัติงานโดยอาสาสมัครประกอบด้วยแพทย?ทันตแพทย?เภสัชกร พยาบาลและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขออกไปให้บริการประชาชนในพื้นที่ทุรกันดาร หลังจากที่เสด็จเยี่ยมราษฎรตามพื้นที่ประชาชนห่างไกลนับตั้งแต่ปี ??2507 เป็นต้นมาทรงพบว่าราษฎรเหล่านั้นเมื่อเจ็บป่วยไม่มีโอกาสได้รับรักษาจากแพทย์แผนปัจจุบันจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า?ให้ตั้งหน่วยแพทย์เคลื่อนที่โดยเสด็จ?อยู่เสม?/p> สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเล็งเห็นว่ากิจการและการดำเนินงานให้ความช่วยเหลือประชาชนในด้านการแพทย์และสาธารณสุขประสบผลและเป็นประโยชน์อย่างมหาศาลจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์จำนว?1 ล้านบาทเป็นทุนเริ่มแรกจดทะเบียนจัดตั้งเป็?“มูลนิธิแพทย์อาสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี?หรือ พอ.สว มีชื่อภาษาอังกฤษว่?“The Princess Mother’s Medical Volunteer Foundation?เมื่อวันที่ 21 พฤษภาค?ปี ??2517 โดยพระองค์เป็นองค์นายิกากิตติมศักดิ?หลังจากเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 18 กรกฎาค?ปี ??2538 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ทรงดำรงตำแหน่งประธานกิตติมศักดิ์ต่อตราบจนสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 2 มกราคม ปี ??2551 ปัจจุบันสมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ?อัครราชกุมาร?กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนาร?ทรงดำรงตำแหน่งประธานกิตติมศักดิ์ ภาพในความทรงจำของปวงชนชาวไทย คือภาพที่พระองค์ทรงเสด็จเยี่ยมราษฎรในชนบทห่างไก?พร้อมหน่วยแพทย?พอ.สว. ซึ่งมีทันตแพทย์ให้บริการตรวจและรักษาโรคในช่องปากแก่ประชาชนในท้องถิ่นทุรกันดารห่างไกล พระองค์ทรงสนพระทัยในเรื่องบริการทันตกรรมเป็นพิเศษ ได้ทรงกำชับไว้ว่?“ต้องมีทันตแพทย์ไปช่วยชาวบ้านทุกครั้?เนื่องจากคนไข้ในท้องถิ่นทุรกันดาร เมื่อมีโรคฟันจะต้องทนทุกข์ทรมานและไม่สามารถช่วยตนเองได?ดังนั้นต้องให้มีทันตแพทย์ไปช่วยโดยด่วน?ทันตแพทย์และบุคลากรจึงเป็นส่วนหนึ่งของทีมอาสาสมัครของหน่วยแพทย์ พอ.สว. ตั้งแต่ป??? 2512 เป็นต้นมา ส่วนการปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต่ครั้งแรกขอ?พอ.สว. เริ่มต้นเมื่อวันที่ 8 มีนาคม ปี ?? 2512 ที่บ้านดอยสามหมื่น กิ่งอำเภอเชียงดา?จังหวัดเชียงใหม่ ขณะที่ปัจจุบัน ทา?พอ.สว. ก็มีการขยายเครือข่ายอาสาอย่างต่อเนื่อ?จนมีแพทย์อาสารวม 63 จังหวั?และมีอาสาสมัคร พอ.สว. ประมาณ 50,000 คนแล้ว

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?pสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนน?/ ภาพจาก www.pmmv.or.th
จนในปี ?? 2529 มูลนิธ?พอ.สว. ได้ประสานงานกับกระทรวงสาธารณสุ?คณะทันตแพทยศาสตร?ทุกมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร และทันตแพทยสมาคม?เริ่มจั?“กิจกรรมรณรงค์ทางทันตสาธารณสุข?เพื่อถวายเป็นพระราชกุศ?เนื่องในวันพระราชสมภพ 21 ตุลาคม โดยระดมทันตบุคลากรอาสาสมัครทั้งภาครั?และเอกชนทั่วประเทศ ออกให้บริการตรวจรักษาโรคในช่องปา?โดยไม่คิดมูลค่าแก่ประชาชนในถิ่นทุรกันดาร 63 จังหวั?และได้จัดกิจกรรมนี้ต่อเนื่องทุกปี

กระทั่งป??? 2532 ทางคณะรัฐมนตรีเห็นว่าสมเด็จย่ามีพระมหากรุณาธิคุณที่ได้พระราชทานวิชาชีพทันตแพทยศาสตร์ และทันตบุคลากร จึงได้อนุมัติให้วันที่ 21 ตุลาคม ของทุกปี ซึ่งตรงกับวันพระราชสมภพของสมเด็จย่า เป็?“วันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ?นอกจากนี?ทุกคนยังได้พร้อมใจถวายพระราชสมัญญาแก่พระองค์เป็?พระมารดาแห่งการทันตแพทย์ไท?อีกด้ว?/p> โครงการด้านทันตสาธารณสุขต่าง?ที่พระองค์และมูลนิธิ พอ.สว. ให้การสนับสนุน เป็นโครงการหรือกิจกรรมที่แก้ปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาชนอย่างแท้จริงและครบวงจ?ทั้งการรักษาโรคในช่องปาก การจัดบริการทันตกรรมป้องกั?การส่งเสริมให้เกิดการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง ด้านกระทรวงสาธารณสุขได้สืบสานพระปณิธานดังกล่าว ด้วยการศึกษาสถานการณ์สุขภาพช่องปากของประชาชนไทยเพื่อหาแนวทางการแก้ปัญห?และพบว่าโรคในช่องปากทั้งฟันผ?เหงือกอักเสบ สภาวะปริทันต์อักเสบ มีความชุกสูง เป็นโรคที่พบได้ทุกเพศทุกวัย แต่ขณะเดียวกันก็เป็นโรคที่ป้องกันได?สาเหตุมาจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ทั้งการบริโภคอาหารหวาน การทำความสะอาดฟันที่ไม่ถูกวิธี การไปรับบริการทางทันตกรรมเฉพาะเมื่อปวดฟัน เป็นต้น และได้ดำเนินกิจกรรมด้านทันตกรรมกับภาคีเครือข่ายต่าง?อาทิ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สส?) และสหวิชาชีพ ในเครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน เพื่อลดการบริโภคอาหารหวาน โดยเฉพาะในเด็กเล็กและเด็กวัยเรียน มหาวิทยาลั?องค์กรท้องถิ่น และภาคเอกชน เพื่อรณรงค์แปรงฟันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็?และกับกระทรวงศึกษาธิกา?ในการรณรงค์ให้เด็กประถมศึกษาได้ฝึกทักษะการแปรงฟันอย่างถูกวิธี และได้รับบริการเคลือบหลุมร่องฟันเพื่อป้องกันฟันผุ นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการช่วยเหลือด้านทันตกรรมของผู้สูงอายุอีกด้วย นอกจากนี?กระทรวงสาธารณสุขมูลนิธ?พอ.สว.ได้จัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพคื?โครงการฟันสะอา?เหงือกแข็งแรงในโรงเรียนมัธยมศึกษา และโครงการเฝ้าระวังทันตสุขภาพนักเรียนในโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดน เป็นต้น

ซึ่งกิจกรรมรณรงค์ทางทันตสาธารณสุ?ก็ยังคงดำเนินการอยู่ทุกปีในพื้นที่ทั่วประเทศไท?โดยได้รับความร่วมมือจากทันตบุคคลอาสาสมัค?และองค์กรทั้งภาครั?ภาคเอกชน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศ?แด่สมเด็จพระศรีนครินทรบรมราชชนนี “พระมารดาแห่งวงการทันตแพทย์ไทย?ถึงแม้ว่าพระองค์จะทรงเสด็จสวรรคตแล้วก็ตา?แต่กิจกรรมก็ยังคงดำเนินการอยู่ทุกป?ด้วยความจงรักภักดี และเป็นการสืบสานพระราชปณิธานของพระองค์ต่อไ?/p>

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?pโครงการทันตกรรมเคลื่อนที่เพื่อประชาชนด้อยโอกาสในเขตท้องถิ่นทุรกันดา? ภาพจาก www.pmmv.or.th

เมื่อถึงวันทันตสาธารณสุขแห่งชาติของทุกป?กระทรวงสาธารณสุขได้เปิดให้ประชาชนทั่วไ?สามารถรับบริการทันตกรรมในสถานพยาบาลของภาครัฐ สถานีอานามัยที่บริการทันตกรร?โดยไม่คิดมูลค่?เผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพช่องปาก รณรงค์เรื่องทันตสุขภา?โดยส่วนใหญ่จะมีการจัดกิจกรรมต่าง?เช่?ให้บริการตรวจฟันและระบุความเสี่ยงของการเกิดโรคในช่องปา? ให้บริการขูดหินปูนฟร? สาธิตและฝึกปฏิบัติการแปรงฟันให้สะอาดและถูกวิธี, อบรมเรื่องการควบคุมพลัค (Plaque )ในปา? จัดนิทรรศการทันตสุขภาพ, จัดนิทรรศการโภชนาการ และสุขาภิบาลอาหา? แปรงสีฟันเก่าแลกแปรงสีฟันใหม?และขบวนรณรงค์ทันตสุขภา?/p> ในวันทันตสุขภา?นอกจากกิจกรรมการรณรงค์ทันตสาธารณสุ?ที่จัดขึ้นในทั่วประเทศแล้ว เพื่อถวายเป็นพระราชกุศ?กระทรวงสาธาณสุขยังได้มีการจัดทำคู่มื?เพื่อให้ความรู้และการดูแลสุขภาพในช่องปากแก่ประชาช?โดยคาดหวังว่าประชาชนจะนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกวิธี เพื่อให้มีสุขภาพปากและฟันที่ดีต่อไป ตามพระราชดำรัสของสมเด็จย่าดังนี้ “?ขอขอบใจทุก?คน ที่ได้ร่วมมือในการทำงานกับกิจการ พอ.สว. นี้ม?ได้ทำมาร่ว?10 ปีแล้ว ?ฉันหวังว่า จะดำเนินการนี้ต่อไปอีกนาน นานจนกว่าจะมีทางรัฐบาลไปถึงเขา ฉันเองก็คงอยู่ต่อไปอีกไม่กี่ปี หวังว่าพวกท่านจะดำเนินงานนี้ต่อไปได้โดยไม่มีฉัน …?พระราชดำรั?สมเด็จพระศรีนครินทราบรมาชชนนี พระราชทานในการประชุม พอ.สว. จังหวัดตาก วันที่ 26 กันยาย?ปี ?? 2526 เพื่อสืบสานพระปณิธา?กรมอนามัยจึงได้จัดโครงการส่งเสริมและป้องกันโรคในช่องปาก เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงตามกลุ่มวัยต่าง?มาโดยตลอ?ทั้งพฤติกรรมการทำความสะอาดฟั?ลดการบริโภคอาหารหวาน หรือขนมของเด็?พฤติกรรมการรับบริการเพื่อการป้องกันโรคในช่องปาก ทั้งเด็กปฐมวั?เด็กวัยเรียน ที่ดำเนินการร่วมกับมูลนิธิ พอ.สว. อาทิเช่?การเฝ้าระวังทางทันตสาธารณสุขในโรงเรียนประถมศึกษาเพื่อจัดบริการทั้งการส่งเสริม ป้องกั?และรักษาโรคในช่องปากแก่เด็กนักเรียน รวมทั้งเน้นให้เด็กรู้จักใช้แปรงสีฟั?ยาสีฟั?สามารถแปรงฟันได้ถูกวิธ?ดูแลรักษาสุขภาพเหงือกและฟันด้วยตนเอง

การรณรงค?“ฟันสะอา?เหงือกแข็งแรง?ในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที?1 เพื่อกระตุ้นให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใ?และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการดูแลรักษาเหงือกและฟันของตนเอง โดยการสอนและฝึกทักษะในการแปรงฟัน รวมทั้งทดสอบประสิทธิภาพหลังการแปรงฟันด้วยการใช้เม็ดสีย้อมคราบจุลินทรีย์บนตัวฟั?/p> การรณรงค์ใช้สารเคลือบหลุมร่องฟันป้องกันฟันผุในฟันกรามถาวรซี่ที?1 ของเด็กอาย?5-7 ปี ซึ่งเป็นฟันที่พบการผุมากที่สุ?เนื่องจากฟันซี่นี้ขึ้นในช่วงเวลาที่เด็กยังเล็?และไม่ให้ความสำคัญกับการทำความสะอาดฟัน การเคลือบหลุมร่องฟันจะเป็นมาตรการป้องกันฟันผุด้านบดเคี้ย?ที่เป็นที่ยอมรับว่ามีประสิทธิผลสูงสุดตราบเท่าที่สารเคลือบหลุมร่องฟันยังคงยึดติดกับผิวฟัน โครงกา?“แม่ลูกฟันดี 102 ปีสมเด็จย่า?เพื่อควบคุมโรคฟันผุสำหรับเด็กปฐมวั?โดยการปรับพฤติกรรมแม่ในการดูแลตนเองและลูก เริ่มตั้งแต่ฟันที่เริ่มสร้างเมื่ออยู่ในครรภ?ซึ่งเป็นกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากในหญิงตั้งครรภ์ และให้บริการตรวจเฝ้าระวังทันตสุขภาพ จัดบริการป้องกันรักษาตามจำเป็นแก่ลูกตั้งแต่แรกเกิดอย่างต่อเนื่องจนถึง 3 ปี

การสนับสนุนกิจกรรมรณรงค์ทางทันตสาธารณสุขเนื่องในวันทันตสาธารณสุขแห่งชาติในวันที?21 ตุลาคมของทุกปี โครงการและกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้เป็นที่มาของกิจกรรมการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในปัจจุบันของกรมอนามัยที่ได้รับความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อ?เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาช?ทั้งการจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็?เครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน การส่งเสริมสุขภาพช่องปากแก่หญิงมีครรภ?การแปรงฟันหลังอาหารกลางวันในโรงเรียนประถมศึกษา การงดจำหน่ายขนมหรือน้ำอัดลมที่เสี่ยงต่อการเกิดฟันผุในโรงเรียน การรณรงค์เคลือบหลุมร่องฟันตามโครงการ “ยิ้มสดใ?เด็กไทยฟันดี?/p> สำหรับวัยทำงาน มีคลินิกอดบุหรี่เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคปริทันต์และมะเร็งช่องปาก และสำหรับกลุ่มผู้สูงวั?กระทรวงสาธารณสุขได้จัดโครงการฟันเทียมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติคร?60 ปี และในวาระมหามงคล 80 พรรษาในป??? 2550 โดยมีกรมอนามัยเป็นหน่วยประสานการดำเนินงาน ทั้งนี้เพื่อลดการสูญเสียฟัน และใส่ฟันเทียมทดแทนให้กับผู้สูงอายุที่สูญเสียฟัน

นอกจากนี้ยังได้จัดการดูแลมาตรฐานผลิตภัณฑ์เพื่อคุ้มครองผู้บริโภ?เช่?จัดทำมาตรฐานปริมาณฟลูออไรด์ในยาสีฟัน ในน้ำบริโภ?จัดทำมาตรฐานคุณภาพขนแปรงและการตรวจสอบคุณภาพที่กรมอนามั?เป็นต้น
การรณรงค์ได้ขยายจนครอบคลุมทั่วประเทศ และดำเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปีเพื่สุขภาพช่องปากของประชาช?แต่ละปีมีประชาชนนับแสนคนที่ได้รับบริการจากกิจกรรมรณรงค์ทางทันตสาธารณสุขเนื่องในวันทันตสาธารณสุขแห่งชาต?โดยไม่คิดมูลค่าภายใต้ชื่องาน “สมเด็จย่าทรงพระเมตตา ให้ปวงประชามีฟันดี?และมีการพัฒนาคุณภาพการบริการ ตลอดจนเปิดโอกาสให้ประชาชนได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน

ด้วยพระปรีชาสามารถและพระมหากรุณาธิคุณด้านทันตกรร?ทำให้ประชาชนโดยเฉพาะในถิ่นทุรกันดารและห่างไกลการคมนาคม ได้รับบริการบำบัดรักษาโรคในช่องปาก มีโอกาสได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง จึงได้มีการทูลเกล้า?ถวายปริญญา ทันตแพทยศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ?ในปี ?? 2530 โดยมหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยขอนแก่น และในป??? 2533 โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร?และในวันที?17 ธันวาค?ปี ?? 2533 องค์การอนามัยโลก ได้ทูลเกล้า?ถวายเหรียญทองแห่งสุขภาพดีถ้วนหน้าเป็นพระองค์แรกในประวัติการณ์ขององค์การอนามัยโลก เพื่อประกาศพระเกียรติคุณอันสูงสุดที่ได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจอันทรงคุณค่าแก่งานสุขภาพอนามัยแห่งชาวโลกทั้งมว?/p> ในปี ?? 2549 เป็นอีกครั้งหนึ่งที่กระทรวงสาธารณสุขและมูลนิธ?พอ.สว. ได้จัดการรณรงค์ทางทันตสาธารณสุ?เนื่องในวันทันตสาธารณสุขแห่งชาต?กระทรวงสาธารณสุขได้ประสานงานไปยังหน่วยบริการภาครัฐทุกแห่?ทั้งในกระทรวงสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร กระทรวงกลาโห?กระทรวงมหาดไทย คณะทันตแพทยศาสตร์ทุกมหาวิทยาลั?ในการจัดบริการตรวจรักษาโรคในช่องปา?รวมทั้งการให้คำแนะนำในการดูแลสุขภาพช่องปากแก่ประชาชนโดยไม่คิดมูลค่?และร่วมกันถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระองค์ท่านพร้อมกันทั่วประเทศในวันที่ 20 ตุลาคม ปี ?? 2549 นอกจากนี้ยังได้จัดการรณรงค?“สมเด็จย่าทรงพระเมตตา ให้ปวงประชามีฟันดี?เพื่อเปิดโครงการจัดการรณรงค์ทางทันตสาธารณสุขเนื่องในวันทันตสาธารณสุขแห่งชาต?ปี ?? 2549 มีการจัดนิทรรศการเทิดพระเกียรติสมเด็จย่า จัดนิทรรศการเพื่อการดูแลสุขภาพและสุขภาพช่องปากที่กรมอนามั?เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม ปี ?? 2549 โดยมุ่งหวังว่าประชาชนทั่วไปจะรับรู้และร่วมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีที่ทรงมีต่อวิชาชีพทันตกรรมและวันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ รวมทั้งได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพและสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่นำไปสู่การเป็นผู้สูงวัยที่มีสุขภาพแข็งแรงและคุณภาพชีวิตที่ดีตามยุทธศาสตร์ “เมืองไทยแข็งแรง?ของกระทรวงสาธารณสุ?ซึ่งเป็นวาระแห่งชาติต่อไป

กรมอนามั?กระทรวงสาธารณสุข เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทในการส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพและสุขภาพช่องปากดีตามพระปณิธานของสมเด็จย่า สุขภาพช่องปากก็เป็นส่วนหนึ่งของสุขภาพร่างกายที่มีความสัมพันธ์กับสุขภาพและคุณภาพชีวิต ซึ่งมีกระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อเดือนเมษาย?ปี ?? 2547 ว่?“คนเราเวลาไม่มีฟั?กินอะไรก็ไม่อร่อ?ทำให้ไม่มีความสุ?จิตใจก็ไม่สบาย ร่างกายก็ไม่แข็งแรง?/p> กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศยุทธศาสตร?“เมืองไทยแข็งแรง?เป็นวาระแห่งชาต?ซึ่งกำหนดให้คนไทยควรมีอายุขัยเฉลี่?80 ปี อยู่อย่างมีศักดิ์ศรีและมีคุณภาพชีวิต ซึ่งถ้าคิดตามกระแสพระราชดำรัสแล้?ผู้ที่มีอายุ 80 ปี ฟันจะต้องดีด้ว?สำหรับใช้เคี้ยวอาหารเพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต

กรมอนามั?โดยกองทันตสาธารณสุ?ได้ทำการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากของประชาชนเป็นประจำทุ?5 ปี ครั้งล่าสุดในป??? 2543-2544 พบว่าโรคฟันผุในฟันน้ำนมมีความชุกและความรุนแรงสูง เด็กอาย?5-6 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 87 และที่ผุเกือบทั้งหมดไม่ได้รับการรักษา ฟันแท้ของเด็กอาย?12 ปี ผุร้อยละ 57 ผุมากที่สุดที่ฟันกรามถาวรซี่ที?1 แล?2 กลุ่มผู้ใหญ่อายุ 35-44 ปี จะเริ่มพบการผุที่รากฟันและพบสภาวะปริทันต์อักเสบ ทำให้เกิดการละลายของกระดูกหุ้มรากฟัน ฟันโยก และสูญเสียฟันในที่สุด สำหรับกลุ่มผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ปัญหาหลักได้แก?ความทุกข์ทรมานจากการสูญเสียฟันจนไม่สามารถเคี้ยวอาหารได?/p>

ร้อยละ 96 ของผู้สูงวัยมีการสูญเสียฟันอย่างน้อ?1 ซี?สูญเสียฟันทั้งปากและต้องใส่ฟันเทียมทดแทนร้อยล?5 หรือประมาณ 3 แสนค?ผู้ที่มีฟันก็พบโรคฟันผ?โรคเหงือกอักเสบ ที่เป็นสาเหตุให้สูญเสียฟันเพิ่มขึ้นได้ทั้งสิ้?ทั้งนี้เนื่องมาจากพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากที่ไม่เหมาะสม หรือเหมาะสมแต่ไม่สม่ำเสมอมาตั้งแต่วัยเด็?/p>

นอกจากการดำเนินงานเพื่อส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากแก่ประชาชนแล้?กรมอนามัยยังสนับสนุนกิจกรรมรณรงค์ทางทันตสาธารณสุ?เนื่องในวันทันตสาธารณสุขแห่งชาติเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม ปี ?? 2549 ได้จัดนิทรรศการเทิดพระเกียรติสมเด็จย่า นิทรรศการเพื่อการดูแลสุขภาพและสุขภาพช่องปา?แปรงสีฟันและยาสีฟันเก่าแลกของใหม?/p>

นอกจากนี้กรมอนามัยยังพบว่ามีผู้สูงอายุอีกกลุ่มหนึ่งที่สามารถดูแลสุขภาพช่องปากตนเองอย่างถูกต้อง สม่ำเสม?ตั้งแต่วัยเด็?สมควรเป็นแบบอย่างที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากแก่ลูกหลาน แม้ว่าจะมีน้อยมา?แต่ก็ยังพบว่ามีอยู่ทุกภาคในประเทศไท?จึงได้จัดให้มีการประกว??0 ยอดฟันดี วั?80 ปี?ขึ้นทุกป?เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ “เมืองไทยแข็งแรง?ของกระทรวงสาธารณสุ?ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมการประกวดเป็นผู้ที่มีอาย?80 ปีขึ้นไป มีสุขภาพแข็งแร?มีฟันดีอย่างน้อย 24 ซี?มีอนามัยช่องปากด?/p>

เหล่านี้เป็นกิจกรรมเพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จย่า พระมารดาแห่งการสาธารณสุขไทยทั้งสิ้?/p>

เรียบเรียงโด?ประพัฒน์ศร ที?iEnergyGuru

อ้างอิ?/strong>
www.pmmv.or.th
www.todayth.com/วันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ.html
//group.surinpho.go.th/dental/2019/10/16/nationaldentalday62/#:~:text=21%20ตุลาคม%20วันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ

tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p

   

0 Reviews

Write a Review

The post 21 ตุลาคม วันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ appeared first on iEnergyGuru.

]]>
//primoma.com/2022/10/21-oct-national-dental-day/feed/ 0 21922
16 ตุลาคม วันอาหารโล?/title> <link>//primoma.com/2022/10/16-october-world-food-day/</link> <comments>//primoma.com/2022/10/16-october-world-food-day/#respond</comments> <dc:creator><![CDATA[angsumon]]></dc:creator> <pubDate>Sun, 16 Oct 2022 02:09:52 +0000</pubDate> <category><![CDATA[วันสำคัญ]]></category> <category><![CDATA[World Food Day]]></category> <guid isPermaLink="false">//primoma.com/?p=21912</guid> <description><![CDATA[อาหารถือเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิ?เชื่อว่าห?[…] <p>The post <a rel="nofollow" href="//primoma.com/2022/10/16-october-world-food-day/">16 ตุลาคม วันอาหารโล?/a> appeared first on <a rel="nofollow" href="//primoma.com">iEnergyGuru</a>.</p> ]]></description> <content:encoded><![CDATA[<p>อาหารถือเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิ?เชื่อว่าหลายท่านเมื่อใกล้จะถึงเวลาของมื้อเช้?มื้อเที่ย?น่าจะเคยคิดว่า เอ้..เช้านี้จะกินอะไรดีน?หรือ เที่ยงแล้?กินอะไรด?... แต่ยังมีอีกหลายคนบนโลกใบนี้ที่ประสบปัญหาขาดแคลนอาหาร วันนี้ iEnergyGuru ขอนำเรื่องราวของวันสำคัญอีกหนึ่งวันมานำเสนอให้ทุกท่านได้ทราบกั?/p>   <p><img loading="lazy" decoding="async" class="aligncenter wp-image-21913" src="//i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/10/iEnergyGuru-WorldFoodDay-1.jpg?resize=800%2C391&ssl=1" alt="tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p"800" height="391" srcset="//i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/10/iEnergyGuru-WorldFoodDay-1.jpg?resize=1030%2C503&ssl=1 1030w, //i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/10/iEnergyGuru-WorldFoodDay-1.jpg?resize=300%2C146&ssl=1 300w, //i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/10/iEnergyGuru-WorldFoodDay-1.jpg?resize=768%2C375&ssl=1 768w, //i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/10/iEnergyGuru-WorldFoodDay-1.jpg?resize=705%2C344&ssl=1 705w, //i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/10/iEnergyGuru-WorldFoodDay-1.jpg?resize=450%2C220&ssl=1 450w, //i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/10/iEnergyGuru-WorldFoodDay-1.jpg?w=1100&ssl=1 1100w" sizes="(max-width: 800px) 100vw, 800px" data-recalc-dims="1" /></p>   วันอาหารโล?(World Food Day) เกิดขึ้นในป??? 2539 โดยองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาต?(Food and Agriculture Organization of The United Nations หรือ FAO) ได้กำหนดให้วันที?16 ตุลาคม ซึ่งตรงกับวันก่อตั้งองค์การฯ เป็นวันอาหารโลก เพื่อสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของกระบวนการผลิตอาหา?เพื่อความสมบูรณ์เติบโตของประชากรโลก และการรักษาทรัพยากรธรรมชาติเพื่อรักษาแหล่งอาหารไว้ รวมถึงสร้างความรู้ความเข้าใจถึงปัญหาในการจัดการและการกระจายอาหา?และเกิดความร่วมมือของทุกภาคส่วนในการแก้ปัญหาความอดอยาก หิวโหย และทุพโภชนาการ มีประชากรกว่?800 ล้านคนทั่วโล?หรือประมาณ 1 ใน 9 ของประชากรโล?ยังคงประสบกับปัญหาความอดอยาก หิวโหย และทุพโภชนาการอยู่ คนเหล่านี้มักจัดอยู่ในกลุ่มคนที่ไม่มีพื้นที่ให้เพาะปลู?หรือไม่ก็ไม่มีเงินซื้ออาหาร แล?98% ของปัญหาความอดอยาก หิวโหย และทุพโภชนาการอยู่ในประเทศกำลังพัฒนา โดยอยู่ในทวีปเอเชียกว่?500 ล้านคน ปัญหานี้เป็นสาเหตุหลักของการตายในเด็?ในปี ?? 2553 มีเด็กตายกว่า 7.6 ล้านคน หรือคิดเป็?20,000 คนต่อวัน ในเด็?1 ใน 15 คน ในประเทศกำลังพัฒนาที่ตายก่อนอายุคร?5 ปี จำนวนนี้ ส่วนใหญ่เกิดจากสาเหตุทางด้านโภชนาการ การได้รับสารอาหารที่มีคุณค่าอย่างเพียงพอเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อพัฒนาการของเด็?ซึ่งส่งผลตลอดช่วงชีวิตของคนๆ นั้น ปัญหานี้ทำให้คนไม่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นำมาซึ่งความยากจนและอดอยาก เป็นวังวนไม่รู้จบ ถือเป็นอุปสรรคที่สำคัญต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของเศรษฐกิ?สังค?สุขภาพ การศึกษา และความเท่าเทียม กับดักความความยากจ?ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนากา?และซึ่งเป็นต้นตอของความยากจน อีกหนึ่งของสาเหตุของปัญหาก็คือ การขาดการลงทุนในภาคการเกษตร เช่?ขาดโครงสร้างพื้นฐานหรือการจัดการทางการเกษตรที่ด?ทำให้ประสิทธิภาพการผลิตต่ำ และขาดความมั่นคงทางอาหาร รวมถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากา?(Climate Change)ซึ่งเป็นเหตุแห่งภัยธรรมชาติ เช่?น้ำท่ว?ภัยแล้?และพาย?มีความรุนแรงมากขึ้?ส่งผลให้ผลผลิตทางการเกษตรเสียหาย ยังมีปัญหาความขัดแย้งทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศที่ทำให้ไม่สามารถทำการเกษตรได?เกิดทั้งการอพยพ และสภาวะขาดแคลนอาหาร นอกจากนั้น ความผันผวนของราคาสินค้าเกษตร ทำให้คนบางกลุ่มเข้าถึงอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการได้ยากในบางช่วงที่สินค้าราคาแพง   <p><img loading="lazy" decoding="async" class="aligncenter wp-image-21914" src="//i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/10/iEnergyGuru-WorldFoodDay-2.jpg?resize=800%2C533&ssl=1" alt="tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p"800" height="533" srcset="//i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/10/iEnergyGuru-WorldFoodDay-2.jpg?resize=1030%2C686&ssl=1 1030w, //i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/10/iEnergyGuru-WorldFoodDay-2.jpg?resize=300%2C200&ssl=1 300w, //i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/10/iEnergyGuru-WorldFoodDay-2.jpg?resize=768%2C512&ssl=1 768w, //i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/10/iEnergyGuru-WorldFoodDay-2.jpg?resize=705%2C470&ssl=1 705w, //i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/10/iEnergyGuru-WorldFoodDay-2.jpg?resize=450%2C300&ssl=1 450w, //i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/10/iEnergyGuru-WorldFoodDay-2.jpg?w=1100&ssl=1 1100w" sizes="(max-width: 800px) 100vw, 800px" data-recalc-dims="1" /></p> <p>ที่ผ่านมาทั่วโลกต่างทุ่มเทและพยายามเป็นอย่างมากในการแก้ไขปัญหานี?โดยได้ร่วมกันกำหนดให้การขจัดปัญหาความความอดอยา?หิวโหย และทุพโภชนาการเป็?1 ใน 8 ของเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรร?(Millennium Development Goals หรือ MDGs) ซึ่งมีกรอบระยะเวล?15 ปี (ปี ?? 2543-2558) โดยตั้งเป้าหมายให้สัดส่วนประชากรที่ประสบปัญหาความอดอยา?หิวโหย และทุพโภชนาการลดลงครึ่งหนึ่งภายในป??? 2558 ซึ่งถึงแม้จะไม่สำเร็จตามเป้าหมา?แต่ก็ถือได้ว่าประสบความสำเร็จเป็นอย่างมา?สำหรับเป้าหมายถัดไป คื?การขจัดปัญหาความความอดอยาก หิวโหย และทุพโภชนาการให้หายไปอย่างสิ้นเชิงภายในปี ?? 2573 โดยเป้าหมายนี้ถูกกำหนดเป็?1 ใน 17 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยื?(Sustainable Development Goals หรือ SDGs) ซึ่งมีกรอบระยะเวล?15 ปี (ปี ?? 2558-2573) อีกด้ว?/p> <p>องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาต?มีวัตถุประสงค์ที่จะยกระดับโภชนาการทั่วโล?รวมถึงเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรในทุกระดับ เพิ่มคุณภาพชีวิตของประชากรในชนบ?และสนับสนุนการเติบโตของเศรษฐกิจโลก นอกจากนี้ยังให้ความช่วยเหลือประเทศต่าง?ในการเปลี่ยนนโยบายทางการเกษตร และช่วยเหลือทุกภูมิภาคจากสถานการณ์ความอดอยาก และผลักดันให้เกิดการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม รวมถึงอำนวยความสะดวกในสภาวะที่เป็นกลา?เพื่อหารือเกี่ยวกับปัญหาการผลิตอาหา?/p> <p>จากบทบาทดังกล่าวทำให้ประเทศสมาชิกทั่วโล?ได้พร้อมใจกันกำหนดให้วันที?16 ตุลาคมของทุกปี มีการจัดกิจกรรมต่างๆ ขึ้น เช่?การอภิปราย การจัดนิทรรศกา?และกิจกรรมอื่น?ภายใต้หัวข้อที่กำหนดขึ้นเหมือนกันทั่วโล?ซึ่งสอดคล้องกับคำขวัญวันอาหารโลกในแต่ละป?ซึ่งจะปรับเปลี่ยนไปให้สอดคล้องกับประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้?/p> สำหรับประเทศไทยได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกขององค์การฯ เมื่อวันที่ 27 สิงหาค??? 2490 และเป็นสมาชิกลำดับที?45 จากสมาชิกปัจจุบันทั้งสิ้?190 ประเทศทั่วโล?นับตั้งแต่ได้เข้าเป็นสมาชิกแล้?ประเทศไทยได้รับความช่วยเหลือทางด้านการเร่งฟื้นฟูการเกษตรของประเทศ ในระยะแรกมีโครงการที่ประสบความสำเร็จมาก คื?โครงการประมงน้ำจืด ซึ่งทางองค์การ?ได้ส่งนักวิชาการด้านประมงมาให้คำแนะนำแก่ชาวประมงไทยในการเลี้ยงปลาหมอเทศ และการเพาะพันธุ์ปลาสวาย <p><strong>เรียบเรียงโด?ศารทวิษุวั?ทีมงาน iEnergyGuru</strong></p> <p><strong>อ้างอิ?/strong></p> <p><a href="//en.wikipedia.org/wiki/World_Food_Day">//en.wikipedia.org/wiki/World_Food_Day</a></p> www.agriculture.gov.bz/world-food-day www.daysoftheyear.com/days/world-food-day <p><a href="//nationaldaycalendar.com/world-food-day-october-16">//nationaldaycalendar.com/world-food-day-october-16</a></p> www.worldhunger.org/world-hunger-and-poverty-facts-and-statistics/#hunger-number www.wfp.org/stories/what-causes-hunger www.dosomething.org/facts/11-facts-about-world-hunger //innovation.wfp.org/projects   <p><img decoding="async" src="//i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2016/01/iEnergyGuru-Blue.jpg?resize=900%2C325&ssl=1" /></p> <div class="xs-review-box view-review-list" id="xs-user-review-box"> <h3 class="total-reivew-headding"> 0 Reviews </h3> <div id="epkbpcmghm" class="xs-review-box-item"> <div id="epkbpcmghm" class="xs-review-media review-full"> </div> </div> </div> <form action="//primoma.com/2022/10/16-october-world-food-day/" name="xs_review_form_public_data" method="post" id="xs_review_form_public_data"> <div class="xs-review-box public-xs-review-box" id="xs-review-box"> <h3 class="write-reivew-headding"> Write a Review </h3> <div id="epkbpcmghm" class="wur-review-fields"> <div id="epkbpcmghm" class="xs-review xs-select" style="display:block;"> <div id="epkbpcmghm" class="xs-review-rating-stars text-center"> <ul id="xs_review_stars"> <li class="star-li star selected" data-value="1"> <i class="xs-star dashicons-before dashicons-star-filled"></i> </li> <li class="star-li star " data-value="2"> <i class="xs-star dashicons-before dashicons-star-filled"></i> </li> <li class="star-li star " data-value="3"> <i class="xs-star dashicons-before dashicons-star-filled"></i> </li> <li class="star-li star " data-value="4"> <i class="xs-star dashicons-before dashicons-star-filled"></i> </li> <li class="star-li star " data-value="5"> <i class="xs-star dashicons-before dashicons-star-filled"></i> </li> </ul> <div id="review_data_show"></div> <input type="hidden" id="ratting_review_hidden" name="xs_submit_review_data[xs_reviwer_ratting]" value="1" 1 /> </div> </div> <input type="hidden" value="21912" name="xs_submit_review_data[xs_post_id]" /> <input type="hidden" value="post" name="xs_submit_review_data[xs_post_type]" /> <input type="hidden" value="0" name="xs_submit_review_data[xs_post_author]" /> <input type="hidden" id="_wpnonce" name="_wpnonce" value="9f6af09412" /><input type="hidden" name="_wp_http_referer" value="/feed/" /> <div id="epkbpcmghm" class="xs-review xs-save-button"> <button type="submit" name="xs_review_form_public_data" class="xs-btn primary"> Submit Review </button> </div> </div> </div> </form> <p>The post <a rel="nofollow" href="//primoma.com/2022/10/16-october-world-food-day/">16 ตุลาคม วันอาหารโล?/a> appeared first on <a rel="nofollow" href="//primoma.com">iEnergyGuru</a>.</p> ]]></content:encoded> <wfw:commentRss>//primoma.com/2022/10/16-october-world-food-day/feed/</wfw:commentRss> <slash:comments>0</slash:comments> <post-id xmlns="com-wordpress:feed-additions:1">21912</post-id> </item> <item> <title>20 กันยาย?ปี ?? 2427 ไฟฟ้าส่องแสงสว่างที่สยามเป็นครั้งแร?/title> <link>//primoma.com/2022/09/20-sep-2427-electricity-illuminates-siam-for-the-first-time/</link> <comments>//primoma.com/2022/09/20-sep-2427-electricity-illuminates-siam-for-the-first-time/#respond</comments> <dc:creator><![CDATA[angsumon]]></dc:creator> <pubDate>Tue, 20 Sep 2022 03:06:27 +0000</pubDate> <category><![CDATA[วันสำคัญ]]></category> <category><![CDATA[การกำเนิดพลังงานไฟฟ้า]]></category> <category><![CDATA[กำเนิดไฟฟ้า]]></category> <category><![CDATA[ไฟฟ้า]]></category> <guid isPermaLink="false">//primoma.com/?p=21897</guid> <description><![CDATA[ไฟฟ้าเริ่มให้ความสว่างไสวเป็นครั้งแรกที่เมนโลปาร์?(Men […] <p>The post <a rel="nofollow" href="//primoma.com/2022/09/20-sep-2427-electricity-illuminates-siam-for-the-first-time/">20 กันยาย?ปี ?? 2427 ไฟฟ้าส่องแสงสว่างที่สยามเป็นครั้งแร?/a> appeared first on <a rel="nofollow" href="//primoma.com">iEnergyGuru</a>.</p> ]]></description> <content:encoded><![CDATA[<p>ไฟฟ้าเริ่มให้ความสว่างไสวเป็นครั้งแรกที่เมนโลปาร์?(Menlo Park) รัฐนิวเจอร์ซี (New Jersey) สหรัฐอเมริก?เมื่อวันที่ 31 ธันวาค?ปี ?? 2422 ต่อมาในป??? 2425 ได้มีการสร้างระบบไฟฟ้าแสงสว่างที่กรุงลอนดอ?(London) ประเทศอังกฤษ และที่สถานีเพิร์ลสตรีท ตอนใต้กรุงนิวยอร์ค (New York) สหรัฐอเมริก?/p> <p><img loading="lazy" decoding="async" class="aligncenter wp-image-21899" src="//i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/09/iEG-Electricity-1030x625.jpg?resize=600%2C364&ssl=1" alt="tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p"600" height="364" srcset="//i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/09/iEG-Electricity.jpg?resize=1030%2C625&ssl=1 1030w, //i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/09/iEG-Electricity.jpg?resize=300%2C182&ssl=1 300w, //i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/09/iEG-Electricity.jpg?resize=768%2C466&ssl=1 768w, //i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/09/iEG-Electricity.jpg?resize=705%2C428&ssl=1 705w, //i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/09/iEG-Electricity.jpg?resize=450%2C273&ssl=1 450w, //i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/09/iEG-Electricity.jpg?w=1429&ssl=1 1429w" sizes="(max-width: 600px) 100vw, 600px" data-recalc-dims="1" /></p> <p>?strong>ไฟฟ้?/strong>?คือหนึ่งในวิทยาการสำคัญที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงชีวิตของคนไทยไปสู่ความทันสมัยแบบก้าวกระโดด หากย้อนกลับไปแต่ครั้งอดี?ชนชั้นนำในสยามเริ่มรับรู้ถึงวิทยาการไฟฟ้าเป็นครั้งแรกผ่านมิชชันนารีตะวันตกที่เดินทางเข้ามาในสยา?ดังปรากฏบทความเกี่ยวกับไฟฟ้าที่เผยแพร่อยู่ในหนังสือพิมพ์ “บางกอกรีคอร์เดอร์?ของหมอบรัดเลย?/p> <p>ไฟฟ้าเกิดขึ้นก่อนโทรเลขและรถไฟเสียอีก แต่รัฐสมัยรัชกาลที?5 ทรงเลือกนำโทรเลขและรถไฟเข้ามาใช้ในสยาม โดยเห็นถึงความจำเป็นมากกว่าไฟฟ้?เพราะการติดต่อสื่อสารระหว่างกรุงเพท?กับหัวเมืองถือเป็นสิ่งสำคัญต่อการปกครองและการทหาร  จนกระทั่งถึงยุคแห่งการปฏิรูปบ้านเมืองในสมัยของรัชกาลที่ 5 จึงได้มีการนำไฟฟ้าเข้ามาใช้เป็นครั้งแรกในประเทศไท?เริ่มครั้งแรกเมื่อจอมพลและมหาอำมาตย์เอกเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิ?แส?ชูโต) ครั้งยังเป็นหมื่นไวยวรนาถ เป็นอุปทูตได้เดินทางไปยุโรปกับเจ้าพระยาภาสกรวงศ?และได้เห็นกรุงปารีส (Paris) ประเทศฝรั่งเศสสว่างไสวไปด้วยไฟฟ้?เมื่อกลับมาเมืองไท?จึงนึกถึงเมืองไทยที่น่าจะมีไฟฟ้าใช้แบบเดียวกับอารยประเทศ และการที่จะทำให้สำเร็จได้คงต้องเริ่มภายในพระบรมมหาราชวังและบ้านเจ้านายก่อน จึงได้นําความขึ้นกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่มีพระราชดํารัสว่า “ไฟฟ้า หลังคาตั?ข้าไม่เชื่อ?/p> <div id="attachment_21900" style="width: 657px" class="wp-caption aligncenter"><img loading="lazy" decoding="async" aria-describedby="caption-attachment-21900" class="wp-image-21900 size-large" src="//i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/09/เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี-เจิ?แส?ชูโต.png?resize=647%2C1030&ssl=1" alt="tr ch?i c? b?cLin k?t ??ng nh?p"647" height="1030" srcset="//i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/09/เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี-เจิ?แส?ชูโต.png?resize=647%2C1030&ssl=1 647w, //i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/09/เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี-เจิ?แส?ชูโต.png?resize=188%2C300&ssl=1 188w, //i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/09/เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี-เจิ?แส?ชูโต.png?resize=443%2C705&ssl=1 443w, //i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/09/เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี-เจิ?แส?ชูโต.png?resize=450%2C717&ssl=1 450w, //i0.wp.com/primoma.com/wp-content/uploads/2022/09/เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี-เจิ?แส?ชูโต.png?w=700&ssl=1 700w" sizes="(max-width: 647px) 100vw, 647px" data-recalc-dims="1" />เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิ?แส?ชูโต) เมื่อครั้งเป็นจมื่นสราภัยสฤษดิ์กา?อุปทูต ?เมืองปัตตาเวี?/ ภาพจาก th.wikipedia.org</div> เมื่อเป็นเช่นนี้ หมื่นไวยวรนาถตระหนักว่าก่อนที่จะเริ่มดำเนินการจำเป็นต้องหาวิธีจูงใจให้ผู้ที่ไม่เคยเห็นเคยใช้ไฟฟ้าเกิดความนิยมขึ้นมาก่อนจึงนําความไปกราบบังคมทู?สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชเทว?ให้ทรงรับซื้อที่ดินซึ่งได้รับมรดกจากบิดา เป็นที่ดินที่ ตำบลวัดละมุด บางอ้อ ได้จากการขายที่ดินนี้เป็นเงิ?180 ชั่ง หรือ 14,400 บาทในขณะนั้น จึงมอบหมายให้นายมาโยลา ชาวอิตาเลียน ที่มารับราชการเป็นครูฝึกทหารเป็นผู้เดินทางไปซื้อเครื่องจักรและเครื่องไฟฟ้าที่ประเทศอังกฤษ เมื่อ ปี ?? 2427 โดยให้ซื้อเครื่องกำเนิดไฟฟ้ามาสองเครื่อง เพื่อจะได้ผลัดเปลี่ยนกันได้ และซื้อสายเคเบิลสำหรับฝังสายใต้ดินจากโรงทหารหน้?(กระทรวงกลาโหมในปัจจุบั? ไปจนถึงพระบรมมหาราชวัง และยังได้มีการจัดซื้อโคมไฟชนิดต่าง?รวมทั้งหลอดไฟสำหรับใช้กับโคมกิ่งระย้าในพระที่นั่งจักรีมหาปราสา?และในท้องพระโร?โดยเดินเครื่องปล่อยกระแสไฟฟ้าเป็นครั้งแร?เมื่อวันที่ 20 กันยาย?ปี ?? 2427 ซึ่งเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในวันที่เปิดทดลองใช้แสงสว่างด้วยไฟฟ้านั้น มีบรรดาขุนนา?ข้าราชการและประชาชนเข้ามาดูแสงไฟฟ้าอย่างแน่นขนัดด้วยความตื่นตาตื่นใจ เมื่อความทรงทราบฝ่าละอองธุลีพระบา?ในหลวงรัชกาลที?5 จึงทรงโปรดเกล้า?ให้ติดตั้งไฟฟ้าขึ้นในวังหลวงทันท?จากนั้นมาไฟฟ้าก็เริ่มแพร่หลายไปตามวังเจ้านาย ต่อมาเมื่อปรากฏว่าไฟฟ้าเป็นที่นิยมกันแพร่หลายทั้งในราชสำนั?วังเจ้านาย และชาวบ้านผู้มีอันจะกิ?พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงพระราชทานเงินที่ใช้จ่ายในการติดตั้งไฟฟ้าคืนให้หมื่นไวยวรนา?แผนที่จะสร้างโรงไฟฟ้าขนาดใหญ?เพื่อให้ประชาชนในกรุงเทพ?ได้ใช้ไฟฟ้าก็เริ่มขึ้น แต่ไม่นานเกิดมีราชการสงครามต้องไปปราบฮ่ออยู่เป็นเวลานานเรื่องเลยระงับไว้ อย่างไรก็ตาม นอกจากจะใช้ไฟฟ้าเพื่อแสงสว่างแล้ว ยังมีการนำไปใช้กับด้านพลังงานด้ว?นั่นคื?มีการจัดตั้งบริษัทรถรางขึ้?เพื่อช่วยให้การสัญจรในกรุงเทพ?และหัวเมืองบางแห่งเป็นไปอย่างสะดว?ถึงแม้ราคาค่าไฟที่หลวงใช้ถูกกว่าชาวบ้านก็จริ?แต่การใช้ไฟฟ้าในสมัยรัชกาลที?5 ก็ต้องประหยั?ตามถนนบางสายก็ไม่มีไฟฟ้าเพราะปรากฏว่าไม่ค่อยมีคนสัญจร บางสายต้องติดห่างๆ กั?เพราะภาษีบำรุงท้องที่ในสมัยนั้นยังไม่มีเรื่องการติดตั้งไฟฟ้าตามถนน <p>ไฟฟ้าในสมัยรัชกาลที่ 5 จึงมีใช้เพื่อจุดประสงค์ให้แสงสว่างเป็นหลั?อุปกรณ์หรือเครื่องใช้ไฟฟ้ายังมีไม่มา?จะมีเพียงพัดลมแต่ก็มีไม่มาก โดยมีใช้ตามตำหนักพระภรรยาเจ้าและพระภรรยาในพระบรมมหาราชวั?แต่ส่วนใหญ่แล้วจะใช้ไฟฟ้าเพื่อการทำแสงสว่า?ไฟฟ้าในยุคนั้นจึงเป็นของฟุ่มเฟือยสำหรับชนชั้นนำมากกว่าเรื่องจำเป็นสำหรับคนทั่วไ?เพราะอุปกรณ์ให้แสงสว่างแบบอื่นยังนิยมใช้กันอยู่ และมีค่าใช้จ่ายถูกกว่าไฟฟ้ามาก ไฟฟ้าในยุคแรกจึงจำกัดอยู่แค่การให้แสงสว่าง และไม่แพร่หลายสู่ราษฎรทั่วไป อีกทั้งไฟฟ้าเป็นของใหม่คนไทยเรายังไม่ค่อยเข้าใ?ปิดเปิดสวิตช์ก็ยังไม่เป็นบางที่เปิดไฟทิ้งไว้ตลอดคืนก็ม?ทำให้หมดเปลืองพระราชทรัพย์ไปโดยเปล่าประโยชน์ การติดไฟตามถนนจึงต้องรู้ว่าถนนใดคนเดินมากเดินน้อ?/p> ในพระบรมมหาราชวังจะติดตั้งโคมไฟฟ้าตามแต่ละสถานที?เน้นสถานที่ส่วนรวมหรือเป็นสถานที่ที่คนหมู่มากใช้ร่วมกัน เช่?ตามตำหนักต่างๆ พระที่นั่งองค์สำคัญๆ อย่างพระที่นั่งจักรีมหาปราสา?ติดตั้งโคมไฟฟ้าบริเวณ เฉลีย?อ่างแก้ว ห้องเสว?ท้องพระโรง สนามหญ้าพระที่นั่ง โดยพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทมีการติดโคมไฟถึ?729 ดว?โดยติดตั้งโคมไฟฟ้าเพื่อความสวยงาม ประดับตกแต่ง ความโอ่อ่า ส่วนสถานที่ราชการต่างๆ ก็ติดตั้งโคมไฟฟ้าเพื่อให้แสงสว่างและอำนวยความสะดวกในการทำงาน แต่จะมีปริมาณน้อยกว่าในพระบรมมหาราชวัง การให้แสงสว่าง โดยเฉพาะในหมู่ชนชั้นนำสมัยรัชกาลที?5 แทนอุปกรณ์ให้แสงสว่างแบบเดิ?อาทิ โค?เทียนไข ตะเกียง ฯล?ทำให้กลุ่มชนชั้นนำที่รู้จักใช้ไฟฟ้ากลายเป็นผู้ทันสมั?มั่งคั่ง ร่ำรวย เพราะสามารถซื้อโคมไฟฟ้าซึ่งมีราคาสูงมาใช้ได?แสงไฟฟ้ายังกลายเป็นสัญลักษณ์ของความหรูหราของบ้านเรือน งานพิธ?เท่ากับว่ากลายเป็นสินค้าที่มีความหมายในเชิงสังคม ในแง่ช่วยยกสถานภาพของผู้ใช้ให้เป็นผู้มั่งคั่ง หรูหรา และมีเกียรติ กลายเป็นเครื่องวัดสถานภาพคน ปัจจุบันแม้วิทยาการบางอย่า?เช่นโทรเลขหรือรถรางได้ถูกยกเลิกการใช้งานไปแล้วตามกาลสมัย แต่ไฟฟ้ากลับยังเป็นสิ่งจำเป็?และยังคงได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้คนไทยได้รับความสะดวกสบายในชีวิตประจำวัน รวมทั้งก้าวทันตามกระแสของโลกที่พัฒนาไปข้างหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง   <p><strong>เรียบเรียงโด?ตะวันฉาย ทีมงาน iEnergyGuru</strong></p> <p><strong>อ้างอิ?/strong></p> <p><a href="//th.wikipedia.org/wiki/การไฟฟ้าส่วนภูมิภา?>//th.wikipedia.org/wiki/การไฟฟ้าส่นภูมิภา?/a></p> <p>//th.wikipedia.org/wiki/การไฟฟ้านครหลว?/p> <p><a href="//th.wikipedia.org/wiki/เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี_(เจิม_แส?ชูโต)">//th.wikipedia.org/wiki/เจ้าพรยาสุรศักดิ์มนตรี_(เจิม_แส?ชูโต)</a></p>   <div class="xs-review-box view-review-list" id="xs-user-review-box"> <h3 class="total-reivew-headding"> 1 Review </h3> <div id="epkbpcmghm" class="xs-review-box-item"> <div id="epkbpcmghm" class="xs-review-media review-full"> <!-- every review--> <div id="epkbpcmghm" class="xs-reviewer-details"> <div id="epkbpcmghm" class="review-reviwer-info-section"> <div id="epkbpcmghm" class="xs-review-rattting"> 1 <div id="epkbpcmghm" class="xs-star dashicons-before dashicons-star-filled"></div><div id="epkbpcmghm" class="xs-star dashicons-before dashicons-star-empty"></div><div id="epkbpcmghm" class="xs-star dashicons-before dashicons-star-empty"></div><div id="epkbpcmghm" class="xs-star dashicons-before dashicons-star-empty"></div><div id="epkbpcmghm" class="xs-star dashicons-before dashicons-star-empty"></div></div> </div> </div> <div id="epkbpcmghm" class="xs-review-pagination"> </div> </div> </div> </div> <form action="//primoma.com/2022/09/20-sep-2427-electricity-illuminates-siam-for-the-first-time/" name="xs_review_form_public_data" method="post" id="xs_review_form_public_data"> <div class="xs-review-box public-xs-review-box" id="xs-review-box"> <h3 class="write-reivew-headding"> Write a Review </h3> <div id="epkbpcmghm" class="wur-review-fields"> <div id="epkbpcmghm" class="xs-review xs-select" style="display:block;"> <div id="epkbpcmghm" class="xs-review-rating-stars text-center"> <ul id="xs_review_stars"> <li class="star-li star selected" data-value="1"> <i class="xs-star dashicons-before dashicons-star-filled"></i> </li> <li class="star-li star " data-value="2"> <i class="xs-star dashicons-before dashicons-star-filled"></i> </li> <li class="star-li star " data-value="3"> <i class="xs-star dashicons-before dashicons-star-filled"></i> </li> <li class="star-li star " data-value="4"> <i class="xs-star dashicons-before dashicons-star-filled"></i> </li> <li class="star-li star " data-value="5"> <i class="xs-star dashicons-before dashicons-star-filled"></i> </li> </ul> <div id="review_data_show"></div> <input type="hidden" id="ratting_review_hidden" name="xs_submit_review_data[xs_reviwer_ratting]" value="1" 1 /> </div> </div> <input type="hidden" value="21897" name="xs_submit_review_data[xs_post_id]" /> <input type="hidden" value="post" name="xs_submit_review_data[xs_post_type]" /> <input type="hidden" value="0" name="xs_submit_review_data[xs_post_author]" /> <input type="hidden" id="_wpnonce" name="_wpnonce" value="9f6af09412" /><input type="hidden" name="_wp_http_referer" value="/feed/" /> <div id="epkbpcmghm" class="xs-review xs-save-button"> <button type="submit" name="xs_review_form_public_data" class="xs-btn primary"> Submit Review </button> </div> </div> </div> </form> <p>The post <a rel="nofollow" href="//primoma.com/2022/09/20-sep-2427-electricity-illuminates-siam-for-the-first-time/">20 กันยาย?ปี ?? 2427 ไฟฟ้าส่องแสงสว่างที่สยามเป็นครั้งแร?/a> appeared first on <a rel="nofollow" href="//primoma.com">iEnergyGuru</a>.</p> ]]></content:encoded> <wfw:commentRss>//primoma.com/2022/09/20-sep-2427-electricity-illuminates-siam-for-the-first-time/feed/</wfw:commentRss> <slash:comments>0</slash:comments> <post-id xmlns="com-wordpress:feed-additions:1">21897</post-id> </item> </channel> </rss>